วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr <p>วารสารสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รับตีพิมพ์เผยแพร่บทความในด้านมนุษยศาสตร์และสังคมโดยเน้นด้านพระพุทธศาสนาและปรัชญา สหวิทยาการด้านการศึกษา และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เริ่มตีเผยแพร่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561</p> ศูนย์วิจัยธรรมศึกษาวัดอาวุธวิกสิตาราม th-TH วารสารวิจัยธรรมศึกษา 3027-8457 AUTHENTIC LEADERSHIP AFFECTING WORK ENGAGEMENT OF FINE ARTS INSTRUCTORS IN UNIVERSITIES UNDER LIAONING https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/3359 <p>The objectives of this research were: (1) To explore the components of fine art instructors' work engagement in universities under Liaoning Province; and (2) To investigate the effects of authentic leadership on instructors' work engagement in universities under Liaoning Province.</p> <p>The research was a mixed methodology research consisting qualitative research and quantitative research. The population of this research consisted of 3284 who were instructors and administrators from fine art major in universities under Liaoning Province.The sample size was determined by Krejcie and Morgan's Table (1970), and obtained by a stratified sampling technique sampling method, totaling 362 samples. The key informants were consisted of nine key informants who were art professionals and teaching staff with many years of teaching and scientific research experience, obtained by purposive sampling method. The instruments used for data collection were a semi-structured interviews form and a five-point scale questionnaire. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, Standard Deviation, and Exploratory Factor Analysis as well as the content analysis was employed. It can be seen that in the regression model of this research, authentic leadership predictive instructors' work engagement to a degree of 60.6%.</p> <p>The research findings revealed that: (1) The components of instructors' work engagement in universities under Liaoning province consisted of six components: motivation for instructors to actively participate in work; positive and optimistic spirit reflected in work; instructor's attitude towards work; the act of instructors engrossed in teaching; the work value reflected in art teaching work; instructors ' dedication to the cause of education; and (2) The various dimensions of authentic leadership had effect on instructors' work engagement in universities under Liaoning Province.</p> Wang Haoyu Kamolmal Chaisirithanya Chuanchom Chinatangkul Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 88 100 วิเคราะห์วาทกรรม “ทำดีได้ดีมีที่ไหน ทำชั่วได้ดีมีถมไป” ด้วยหลักกาลามสูตร https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/2700 <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์วาทกรรม “ทำดีได้ดีมีที่ไหน ทำชั่วได้ดีมีถมไป” ด้วยหลักกาลามสูตร วิธีการศึกษาเป็นแบบเชิงคุณภาพเชิงปรัชญา โดยศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากพระไตรปิฎก เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ที่เชื่อว่า “ทำดีได้ดีมีที่ไหน ทำชั่วได้ดีมีถมไป” นั้น ตีความคำว่าดีในความหมายของผลประโยชน์เชิงวัตถุและการตอบสนองทางอารมณ์เป็นหลัก 2. คำว่า ทำดีได้ดี ในทางพุทธปรัชญานั้น หมายถึง ดีในทางกุศลจิต ไม่ใช่ดีเชิงวัตถุหรือการตอบสนองทางอารมณ์ของกิเลส 3. ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นจริง ส่วนทำดีได้ดีมีที่ไหน ทำชั่วได้ดีมีถมไป เป็นเพียงวาทกรรมเชิงระบายทางอารมณ์ที่ไม่สมหวังจากความคาดหวังในเรื่องผลผลประโยชน์เชิงวัตถุและการตอบสนองทางอารมณ์เท่านั้น</p> วิเศษ แสงกาญจนวนิช Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 252 258 ความชอบธรรมของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะปรัชญาเพื่อการพัฒนาชาติ https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/4835 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นกระบวนทรรศน์ใหม่ในการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปรัชญาและการพูดคุยในวงเสวนาเพื่อหาข้อคิดเห็น ความรู้มาขยายข้อมูลในเชิงกรอบความคิดปรัชญา แล้วนำมาจัดหมวดหมู่ความคิดเชิงปรัชญาให้เหมาะสม ผลการวิจัยพบว่า ความชอบธรรมของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจึงต้องพิจารณาจากหลายด้าน ได้แก่ 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะนโยบายของพระมหากษัตริย์เป็นความชอบธรรมทางศาสนาตามแนวคิดเทวสิทธิ์และเป็นพระโพธิสัตว์ที่จะทรงไว้ซึ่งเมตตาธรรม ยุติธรรมและบันดาลความสุข ความรุ่งเรืองแก่ประชาชน และมีลำดับความสัมพันธ์กับประชาชนในฐานะศูนย์กลางแห่งอำนาจ ประชาชนต้องเคารพเชื่อฟังและมีศรัทธาตามจารีตประเพณีโบราณ 2. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะนโยบายของรัฐบาลเป็นความชอบธรรมทางรัฐศาสตร์ มีลักษณะเป็นสัญญาประชาคม เป็นอำนาจนำที่ปรากฏในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติต่อเนื่องยาวนาน และยังปรากฏอยู่ในแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) การเชื่อมโยงศาสตร์พระราชากับการพัฒนาประเทศเพื่อให้การพัฒนาในทุกมิติมีการบูรณาการบนทางสายกลาง 3. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะบทบัญญัติทางกฎหมายเป็นความชอบธรรมทางนิติศาสตร์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มีบทบัญญัติอันเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบัญญัติไว้คือ หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 75 วรรคหนึ่ง ทำให้เกิดบทบาทของความชอบธรรม กลไกต่างๆ ของสังคมทำงานไปได้ตามบทบัญญัตินั้น ความเป็นธรรมที่ส่งเสริมผ่านการทำให้ระบบกฎหมายเป็นไปในทิศทางเดียวกับความเป็นธรรมทางสังคมเป็นกระแสหลักของหลายประเทศ 4. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะปรัชญาเป็นความชอบธรรมตามหลักปรัชญา ได้แก่ 1) อภิปรัชญาตามลัทธิทวินิยมและแนวคิดของปรัชญาหลังนวยุคสายกลางด้วย เน้นแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีในวิถีชีวิตที่เป็นอยู่ในสภาวะปัจจุบันท่ามกลางความรู้ต่าง ๆ ที่แตกต่างหลากหลาย 2) ญานปรัชญาตามปรัชญาหลังนวยุคเสนอคำตอบที่สอดคล้องกับวิถีคิดของสังคมไทยว่าควรศึกษาย้อนอ่านให้หมด ไม่ควรละเว้น และควรคัดสรรเฉพาะส่วนที่ดีที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตในปัจจุบันเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3) ปรัชญาจริยะมีความสอดคล้องในระดับเป้าหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ มุ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดของชีวิต การวิจัยนี้ชี้ว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจึงมีความชอบธรรมในการเป็นปรัชญาเพื่อการพัฒนาชาติอย่างเต็มที่และควรเผยแผ่ด้วยการชี้แจงเหตุผลเชิงปรัชญาในระดับสากล</p> เอนก สุวรรณบัณฑิต วิเศษ แสงกาญจนวนิช Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 1 11 A CAUSAL MODEL OF FACTORS AFFECTING HIGH PERFORMANCE ORGANIZATION OF COLLEGES AND UNIVERSITIES IN SHENYANG UNDER LIAONING PROVINCE https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/3361 <p>The objectives of this research were: (1) to examine components of the high performance organization(HPO) of colleges and universities in Shenyang, Liaoning Province; (2) to develop a causal model of factors affecting high performance organization(HPO) of colleges and universities in Shenyang, Liaoning Province; and (3) to verify the causal model of factors affecting high performance organization of colleges and universities in Shenyang, Liaoning Province with empirical date .</p> <p>The research was a mixed methodology research. The Population consisted of 4844 people who were managers and teachers They came from 3 colleges and universities of different school categories in Shenyang, Liaoning Province, which are classified according to school type. The researcher determined sample size with Krejcie and Morgan’s Table (1970). The sample size was 357. The key informants were five experts, obtained by purposive sampling method. The instruments used for data collection were Analysis of literature content and five-point survey scale. The statistics used for date analysis were descriptive statistics, correlation analysis, and regression analysis to analyze the collected data, Confirmatory Factor Analysis (CFA), and Structural equation model (SEM).</p> <p>The research findings revealed that; (1) the components of high-performance organizations in universities in Shenyang, Liaoning Province were identified;HPO consist of nine components:leadership, excellent talent team, a good working environment, clear goals and performance orientation, efficient communication and collaboration, continuous learning and innovation, emphasize teacher development and satisfaction, incentive and reward mechanism, organizational culture and values</p> <p> (2) a causal model for high-performance organizations in colleges and universities were developed and verified its rationality;and (3)Leadership positively impacted direct and indirect high-performance organizational performance through motivation. Motivation directly enhanced performance, while its impact on Organizational commitment was limited. Organizational commitment directly improved performance. Leadership's indirect impact on high-performance organizations operated through motivation and organizational commitment. Leadership incentives had a limited impact on Organizational commitment in high-performance organizations.</p> Liu Yuze Kamolmal Chaisirithanya Chuanchom Chinatangku Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 259 285 ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์กร ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/2703 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จำนวน 92 โรงเรียน ได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธี เปิดตารางเคซี่ มอร์แกน โดยมีผู้ให้ข้อมูล โรงเรียนละ 4 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน และครูผู้สอน 3 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น จำนวน 368 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหูคูณแบบขั้นตอน วิเคราะห์สถิติโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป</p> <p><strong> ผลการวิจัย พบว่า </strong></p> <ol> <li>ผลการวิเคราะห์ผลการวิเคราะห์ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยมีผลการวิเคราะห์รายด้านโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การมีวิสัยทัศน์ การมีความคิดสร้างสรรค์ การมีความยืดหยุ่นและการปรับตัวการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล และการทำงานเป็นทีม ตามลำดับ</li> </ol> <p> 2) ผลการวิเคราะห์วัฒนธรรมองค์กรในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้านเรียงจากมากไปหาน้อย ดังนี้ วัฒนธรรมองค์กรในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ความมุ่งประสงค์ ความซื่อสัตย์สุจริต ความมีคุณภาพ การมอบอำนาจ การตัดสินใจ ความไว้วางใจ ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสถานศึกษา ความเอื้ออาทร การยอมรับ และความหลากหลายของบุคลากร ตามลำดับ</p> <p>3) ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยการมีความยืดหยุ่นและการปรับตัว การทำงานเป็นทีม และการมีความคิดสร้างสรรค์ ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสามารถเขียนรูปแบบสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ ดังนี้</p> <p>สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้ =.990** + .329**(X<sub>3</sub>) + .331** (X<sub>5</sub>) + .284**(X<sub>4</sub>) = .321**(Z<sub>X3</sub>) + .343** (Z<sub>X5</sub>) + .366**(Z<sub>X4</sub>)</p> นันทพร ขาวใจผ่อง ขัตติยา ด้วงสำราญ Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 149 161 การวิจัยในชั้นเรียนเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อปรับปรุงกระบวนการวัดผลการศึกษา และยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้วิชาพยาธิวิทยาของนิสิตเทคนิคการแพทย์ https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/5000 <p>งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ปรับปรุงกระบวนการวัดผลการศึกษา 2) ยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้วิชาพยาธิวิทยา เป็นการวิจัยในชั้นเรียนเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ กระบวนการวัดและประเมินผลที่มีการปรับปรุงแบบมีส่วนร่วมระหว่างผู้สอนและผู้เรียนอย่างต่อเนื่องระหว่างการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ผลการสอบกลางภาคเป็นข้อมูลนำเข้าในการประชุมร่วมกัน เพื่อหาสาเหตุของปัญหา วิจารณ์ วิเคราะห์ และสังเคราะห์ จนเห็นชอบแนวทางการแก้ไขร่วมกัน แล้วนำไปใช้พัฒนาการเรียนการสอนและปรับปรุงกระบวนการวัดผล ใช้ผลการสอบปลายภาคเป็นตัวบ่งชี้ผลสำเร็จของการแก้ปัญหาและการยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตเทคนิคการแพทย์ ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยเนชั่น (ลำปาง) จำนวน 49 คน อาจารย์ร่วมสอน 4 ท่าน ใช้คะแนนสอบของนิสิตทุกคนในการวิเคราะห์ด้วย pair sample t-test (p&lt;0.05) ตลอดกระบวนการวิจัยนี้ยึดหลักการ เรียนเพื่อรู้ สอบผ่านได้ และเป็นธรรมกับทุกคน แนวทางการแก้ปัญหาผลการสอบกลางภาคมีคะแนนต่ำ ซึ่งเห็นชอบร่วมกัน ได้แก่ การให้แบบฝึกหัดพร้อมเฉลยและเพิ่มการสอบซ่อมอีก 2 ครั้ง ทำให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นและมีคะแนนการสอบกลางภาคดีขึ้น มีการแบ่งสอบปลายภาคเป็น 2 ครั้ง แต่ในช่วงนั้นมีการสอบติดกันหลายวิชา คะแนนสอบปลายภาคจึงยังไม่น่าพึงพอใจ จึงเพิ่มการสอบปลายภาคซ่อม ทำให้ผู้เรียนสอบผ่านกันได้ทุกคน สรุปได้ว่า การวิจัยในชั้นเรียนเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมใช้ปรับปรุงกระบวนการวัดผลการศึกษาและยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้วิชาพยาธิวิทยาในนิสิตเทคนิคการแพทย์ได้</p> ยุทธนา หมั่นดี สิทธิโชค ริดเพชร วรินทร์ดา ไกรเทพ ยุพาลภัส สุภาเลิศภูรินทร์ Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 162 175 NEW PARADIGM OF ART EDUCATION MANAGEMENT IN COLLEGES AND UNIVERSITIES UNDER LIAONING PROVINCE IN THE NEXT DECADE https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/3402 <p>The objectives of this research were: (1) to propose new paradigm of art education management in colleges and universities under Liaoning Province in the next decade ; and (2) to develop future wheel of implication for new paradigm of art education management in Colleges and Universities under Liaoning Province in the Next Decade.</p> <p>The research methodology was qualitative research with Delphi technique. The key informants were 20 experts in art education management. The data from three rounds of interviews were coded and classified by Delphi technology and future wheel research. The instrument used for data collection were open ended interview form and five-point rating scale questionnaire. Statistics is used for data analysis were adopt mode, median, Inter Quartile Range and content analysis was employed.</p> <p>The research findings revealed that: (1) the new paradigm of art education management in Colleges and Universities under Liaoning Province in the next decade is consisted of nine dimensions: the globalization of art education management, diversification (diversified development mode), education information management in art education, the concept of art education, teaching management in art education, organization management in art education, resource management in art education, quality management in art education, art education leadership;and (2) the future wheel of implication for new paradigm of art education management in Colleges and Universities under Liaoning Province in the next decade, based on the results of data analysis. </p> <p>The researcher used data analysis to get 87 consensus items and created an image of future wheels.</p> Qiu Guoguang Kamolmal Chaisirithanya Chuanchom Chinatangkul Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 135 148 ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์กรโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/2948 <p>วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์กรโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้เป็นโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จำนวน 92 โรงเรียน จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 368 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน ใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis)</p> <p><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong> 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยสามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการกำหนดวิสัยทัศน์เชิงสร้างสรรค์ ด้านความสามารถในการนำปัจจัยต่าง ๆ มากำหนดเป็นกลยุทธ์ด้านความคิดเชิงปฏิวัติเพื่อการเปลี่ยนแปลง ด้านความคิดความเข้าใจระดับสูง และด้านความคาดหวังและ 2. วัฒนธรรมองค์กร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยสามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านความสอดคล้องกัน ในการปฏิบัติงานของบุคลากร ด้านความร่วมมือกันทางการเรียนรู้ ด้านการมีเป้าหมายในการดำเนินงานที่ชัดเจน ด้านความสามัคคีกันของบุคลากร ด้านการพัฒนาวิชาชีพ และด้านภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมตามลำดับ 3. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์กรโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้แก่ ด้านการกำหนดวิสัยทัศน์เชิงสร้างสรรค์ ด้านความสามารถในการนำปัจจัยต่าง ๆ มากำหนดเป็นกลยุทธ์ ด้านความคิดเชิงปฏิวัติเพื่อการเปลี่ยนแปลง และด้านความคิดความเข้าใจระดับสูง ซึ่งตัวแปรทั้ง 4 ด้านได้ร่วมกันทำนายวัฒนธรรมองค์กร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้ร้อยละ 69.5</p> ประกายทิพย์ ภูมิภาค พระมหาธำรงค์ ฐิตปญฺโญ Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 229 240 ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานของอาจารย์ใน มหาวิทยาลัยเอกชน https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/5367 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบรรยากาศองค์การในมหาวิทยาลัยเอกชน (2) ศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของอาจารย์ ในมหาวิทยาลัยเอกชน และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเอกชน ประชากรในการวิจัยเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเอกชน จำนวน 357 คน กลุ่มตัวอย่าง เป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเอกชน จำนวน 186 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้การเทียบตารางของเครจซี่และมอร์แกน (1977: 607-610 ) และด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสองฉบับ ตามวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s a- coefficient) มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.91 และ 0.93 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสัน</p> <p> ผลการวิจัย พบว่า (1) บรรยากาศองค์การของอาจารย์ ในมหาวิทยาลัยเอกชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) พฤติกรรมการปฏิบัติงานของของอาจารย์ ในมหาวิทยาลัยเอกชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานของของอาจารย์ ในมหาวิทยาลัยเอกชน โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</p> ธารินี กิตติกาญจนโสภณ วรชัย วิภูอุปรโคตร อาริยา ภูวคีรีวิวัฒน์ เพชราภรณ์ วงค์หลวง เบญจภรณ์ รัญระนา Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 241 251 THE STRATEGY OF CONSTRUCTING OF UNIVERSITY IDENTITY SYSTEM IN PUBLIC UNIVERSITIES IN SHENYANG CITY, CHINA https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/2130 <p>The objectives of this research were: (1) To study the factors that affect the identity images of Shenyang Universities. (2) To study the identity image strategies of Shenyang Universities</p> <p>This research was a mixed method research, including quantitative research and qualitative research. This paper implemented a quantitative study on the components of the identity system construction of 19 public universities in Shenyang. The researchers were randomly selected from 19 public universities in Shenyang. The main respondents were managers and teachers with work experience in 19 public universities in Shenyang, as well as junior college students, undergraduate students, master's degree and doctoral students studying in 19 universities, a total of 700 samples. The tools used for data collection were semi-structured interview tables and questionnaire stars. Exploratory factor analysis (EFA) was used to reduce irrelevant variables. Using the purposive sampling method, 15 key information providers from three public universities in Shenyang (Northeast University, Liaoning University, Lu Xun Academy of Fine Arts), The tool used for data collection was a semi-structured interview form. The statistical data used for data analysis were frequency, percentage, mean value and standard deviation, and exploratory factor analysis and content analysis are used.</p> <p>The research findings revealed that; (1)The components that affected the identity of Shenyang Public Universities: UVIS, UBIS and UMIS; and (2) The managerial guidelines on Shenyang Public University Identity System Development Strategy:<br />The evaluation system of University visual identity system included four items: external image, internal image, personality image and artistic image.The evaluation system of university concept identification system included four items: educational philosophy, educational concept, cultural perception and school running characteristics.The evaluation system of behavior recognition system in Colleges and universities included seven items: teacher quality and organizational system, cultural activities, teaching philosophy, scientific research development, study style service system, and example system.</p> Wang Yi Sutida Howattanakul Sataporn Pruettikul Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 41 53 ESSENTIAL SKILLS CULTIVATION FOR ART DESIGN EDUCATION IN COLLEGES AND UNIVERSITIES UNDER HEILONGJIANG PROVINCE, CHINA https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/3449 <p>The objectives of this research were: To examine the components of essential skills in Art Design Education in Colleges and Universities under Heilongjiang Province; and to propose the guidelines to cultivate the essential skills in art design education in colleges and universities under Heilongjiang Province. The research was a mixed methodology research, including qualitative research and quantitative research. The population of the research consisted of 45 college administrators and 833 instructors in 11 colleges and universities under Heilongjiang Province, with a total of 878. The sample size was determined by Krejie and Morgan tables (1970), and obtained by stratified random sampling technique, totaling 300. The key informants were composed of 16 key informants, including senior administrators of art and design education in colleges and universities, professors of art design major in colleges and universities, graduates of art design major, head of the personnel department of the art and design-related enterprises, obtained by purposive sampling method. The instruments used for data collection were a semi-structured interview form, a five−point rating scale questionnaire, and a focus group discussion form. The statistics used for the data analysis were frequency, percentage, mean, Standard Deviation and Exploratory Factor Analysis, as well as the content analysis was employed.</p> <p> The research findings revealed that: (1) there were eight components of essential skills cultivation in art design education in colleges and universities under Heilongjiang Province which consisted of aesthetic appreciation skills, design thinking skills, creative thinking skills, critical thinking skills, collaborative skills, self-study skills, social skills and comprehensive practical skills; and (2) there were total of 18 guidelines of essential skills cultivation in art design education in colleges and universities under Heilongjiang Province which consisted of three managerial guidelines for component of aesthetic appreciation skills and design thinking skills, two managerial guidelines for component of creative thinking skills, critical thinking skills, collaborative skills, self-study skills, social skills and comprehensive practical skills.</p> Miao Rui Kamolmal Chaisirithanya Chuanchom Chinatungkul Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 27 40 A STRUCTURAL EQUATION MODEL OF ADMINISTRATIVE FACTORS AFFECTING ADMINISTRATION EFFECTIVENESS OF HIGHER ART SCHOOLS IN LIAONING PROVINCE https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/3295 <p>The objectives of this research were: 1) to study the administrative factors and components of administration effectiveness of higher art schools in Liaoning province.; 2) to study the administrative factors affecting administration effectiveness of higher art schools in Liaoning province and 3) to study the guidelines for improving the school administration effectiveness of higher art schools in Liaoning province.</p> <p>The research was a mixed methodology research, include qualitative and quantitative reach. The research population included 5443 administrators, teachers and staffs from Higher Art Schools in Liaoning province, which conclude Comprehensive Universities, Professional Colleges and Higher art schools. The sample size was determined by G-Power, obtained by proportional stratified random sampling, totally 407 people. The key informants in the first phase were 7 experts and in the third phase were 9 experts, obtained by purposive sampling. The instruments used for data collection were, document data record sheet, semi-structured interview record, a 5-level rating scale questionnaire and focus group discussion record. The statistics used for data analysis were content analysis and Exploratory Factor Analysis (EFA) as well as descriptive statistics. And to develop the Structural Equation Model (SEM) as well as descriptive statistics. </p> <p>The research found that: (1) There were 5 administrative factors of higher art schools in Liaoning province include; administrators’ effectiveness, organizational communication, educational resources, institution and mechanisms, and teachers’ effectiveness. (2) The most affecting administrative factor was administrators’ effectiveness, the second affecting factor was organizational communication, the last affecting factor was teachers’ effectiveness. (3) The implementation guidelines that improving administration effectiveness consist of 5 parts as follows; administrators’ effectiveness, organizational communication, educational resources, institution and mechanisms, and teachers’ effectiveness.</p> Liu wei Pornthep Muangman Peerapong Tipanark Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 113 134 The GUIDELINES FOR ADMINIDSTRATORS IN INNOVATIVE LEADERSHIP DEVELOPMENT IN GUANGDONG DANCE AND DRAMA VOCATIONAL COLLEGE UNDER GUANGDONG https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/5416 <p>The purpose of this research were: (1) to study the level of adminidstrators in innovative leadership development in Guangdong dance and drama vocational college under Guangdong; (2) to construct the guidelines for adminidstrators in innovative leadership development in Guangdong dance and drama vocational college under Guangdong. The research was mixed methodology design, which were comprised of quantitative and qualitative research. The population of this research was 497 teachers in Guangdong Vocational College of Dance and Drama under Guangdong. The sample total of 285 teachers. Informants for focus group from 7 experts selected by purposive sampling. The statistic for analysis data were frequency, percentage, mean, Standard Deviation, and content analysis. The research results were found that: (1) adminidstrators in innovative leadership development in Guangdong dance and drama vocational college under Guangdong, overall was at high level (x̄ = 4.38); and (2) guidelines for adminidstrators in innovative leadership development in Guangdong dance and drama vocational college under Guangdong, there were 11 aspects, such as: should have plan and vision, good decisions to solve problems, take responsibility for the results of decisions, don't blame others, when an error occurs.</p> ธารินี กิตติกาญจนโสภณ Nie Na Suthasinee Wiyaporn Jutharat Nirandorni Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 215 228 การบริหารงานตามหลักพุทธธรรมสำหรับนักธุรกิจ https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/2202 <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์การบริหารงานตามหลักพุทธธรรมสำหรับนักธุรกิจ วิธีการศึกษาเป็นแบบเชิงคุณภาพ โดยศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักพุทธธรรม ผลการวิจัยพบว่า การบริหารงานตามหลักพุทธธรรมสำหรับนักธุรกิจนั้น เป็นการทำงานโดยใช้หลักธรรมเป็นตัวขับเคลื่อน กิจการงานใดๆ ล้วนเป็นเพียงเครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการฝึกจิตใจให้ตั้งมั่นอยู่ในธรรม ดำรงอยู่ในธรรม และมีเป้าหมายเพื่อธรรมในทุกกิจกรรมการบริหาร ส่วนผลประโยชน์ใดๆ อันเกิดจากการบริหารตามหลักพระสุตตันตปิฎกถือเป็นผลพลอยได้ จึงเห็นได้ว่า หลักการบริหารในพระสุตตันตปิฎกนั้นเน้นการสร้างเหตุอันนำมาซึ่งโภคทรัพย์ทั้งภายในและภายนอก สามารถสร้างเครือข่ายคนที่เป็นกัลยาณมิตรร่วมกัน และกัลยาณมิตรเหล่านั้นก็เป็นส่วนเสริมให้เกิดเครือข่ายการทำงานที่สังคมให้ความเชื่อถือและเป็นการบริหารงานที่มีความสุขที่เกิดขึ้นกับตนเองและสังคมส่วนรวม มีความเป็นธรรมาภิบาล เพราะเน้นการมีส่วนร่วมบนความจริงใจทั้งทางด้านนิติธรรม คุณธรรม จริยธรรม จึงเกิดความโปร่งใสจากภายในสู่ภายนอก สร้างความน่าเชื่อถือโดยธรรม เป็นความสุขร่วมกันของผู้มีธรรมเป็นเป้าหมายร่วมกันในการดำเนินธุรกิจ</p> เมธา หริมเทพาธิป สิรินทร์ กันยาวิริยะ ชิสา กันยาวิริยะ Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 80 87 การสร้างภาวะผู้นำบนพื้นฐานอิทธิบาทธรรม https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/4349 <p>บทความวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เอกสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การสร้างภาวะผู้นำบนพื้นฐานอิทธิบาทธรรม ผลการวิจัยพบว่า อิทธิบาทธรรม คือ ธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จ มีองค์ประกอบ 4 อย่าง คือ ฉันทะ (ความพอใจ) มีแรงบัลดาลใจ แรงจูงใจ มีความต้องการที่จะทำ วิริยะ (ความเพียร) มีความพยายาม เข้มแข็ง อดทน ไม่ท้อถอยต่อสิ่งที่ทำ จิตตะ (ความเอาใจใส่) มีความมุ่งมั่น หนักแน่น มีจิตฝักใฝ่ไม่ฟุ้งซ่าน อุทิศตนเพื่อสิ่งที่ทำ วิมังสา (ความไตร่ตรอง) มีการใช้สติปัญญาใคร่ครวญในสิ่งที่ทำ ทั้งในส่วนของเจตนาและผลการกระทำ มีความรอบคอบ มองอย่างเป็นองค์รวม มีวิจารณญาณในการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาในสิ่งที่ทำ ธรรมทั้ง 4 ประการนี้สามารถสร้างภาวะผู้นำให้เกิดขึ้นแก่บุคคลที่น้อมนำเอาธรรมเหล่านี้มาประพฤติปฏิบัติด้วยเจตนาอันเป็นกุศล นอกจากจะสร้างความเข้มแข็ง สร้างโอกาสแห่งความสำเร็จให้กับชีวิตส่วนตัวแล้ว ยังสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี สามารถสร้างแรงบัลดาลใจให้กับบุคคลรอบข้างได้ดำเนินรอยตามด้วยความเต็มใจ สามารถให้ความอุ่นใจแก่ผู้ร่วมงาน สามารถหวังความสำเร็จ ความเจริญก้าวหน้าให้เกิดขึ้นได้ทั้งระดับบุคคลและองค์กร</p> วิเศษ แสงกาญจนวนิช Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 54 60 MEDIATING AFFECT OF ORGANIZATIONAL COMMITMENT ON THE RELATIONSHIP BETWEEN ADMINISTRATORS’ TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP, ORGANIZATIONAL SUPPORTED AND TEACHERS’ JOB PERFORMANCE AT THE COMMUNICATION UNIVERSITY OF SHANXI, SHANXI PROVINCE https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/3327 <p>The objectives of this research were: (1) To propose of the mediating effect of organizational commitment on the relationship between administrators’ transformational leadership, perceived organizational supported, and teachers’ job performance at the Communication University of Shanxi when the model fit with the empirical data.; and (2) To investigate the factors has direct and indirect effect of organizational commitment on the relationship between administrator’s transformational leadership, perceived organizational supported, and teachers’ job performance at the Communication University of Shanxi.</p> <p>The research was a mixed methodology, including qualitative and quantitative research.The population of the research consisted of 683 who were administrators, staff and full-time teachers of communication university of Shanxi. A proportional stratified random sampling method was used to sample, totaling 363 persons.The instruments used for data collection were a five-level rating scale questionnaire. The statistics used for data analysis were descriptive statistics and Confirmative Factor Analysis. </p> <p>The research findings revealed that:The research findings revealed that:(1)Structural Equation Modeling (SEM.) the mediating effect of organizational commitment on the relationship between admistrators’ transformational leadership, perceived organizational supported, and teachers’ job performance at the Communication University of Shanxi fit with the empirical data.(2).Administrators’ transformation leadership and perceived organizational supported has a significant direct effect on teachers’ job performance.(3). Administrators’ transformation leadership and perceived organizational supported has a significant indirect effect on teachers’ job performance (TJP) through the teachers’ organizational commitment.</p> Yin Tao Peerapong Tipanark Pornthep Muangman Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 279 292 Digital Marketing Management of Herbal Products in the Community Context of Ban Nong Thiam, Nakhon Pathom Province: Guidelines for Developing Marketing Strategies in the Digital Age https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/2323 <p> This research aims to 1) explore guidelines for developing digital marketing public relations media and to transfer this knowledge to the Ban Nong Thiam herbal shampoo business, and 2) enhance digital marketing strategies for herbal shampoo products. This involves creating an engaging Facebook page, crafting appealing slogans, utilizing effective hashtags, and improving product ordering channels through QR Codes linked to Line and Facebook. A mixed-methods approach was employed, combining qualitative and quantitative research methods. Data collection included questionnaires and interviews. The quantitative sample consisted of 220 consumers from Bangkok, selected via simple random sampling. Qualitative insights were obtained from 10 key informants through in-depth interviews. Data analysis involved descriptive statistics (percentages, means, and standard deviations) and t-tests for comparisons. The results indicated a high overall satisfaction with the digital marketing efforts, with an average satisfaction score of 4.75. The highest satisfaction was noted for comprehensive content on the Facebook page, scoring 5. Additionally, the study identified that effective public relations media should use modern, engaging platforms like informational web pages and video clips. Key elements of successful public relations media include compelling headings, informative text, relevant illustrations, and clear contact information. This research highlights the significance of utilizing information technology to boost the potential and competitiveness of local businesses sustainably.</p> Ntapat Worapongpat Songsak Dookarn Qingchao Sun Pimook Somchob Chuensumon Bunnag Jirapipat Thanyaphongphat Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 61 79 COOPERATION MODEL BETWEEN CONTEMPORARY ART MUSEUM AND ART EDUCATION IN EDUCATIONAL INSTITUTIONS UNDER GUANGDONG PROVINCE https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/4748 <p>The objectives of this research were: (1) to eexamine the components and indicators of cooperation between contemporary art museums and art education in educational institutions under Guangdong Province;(2)to propose the cooperation model between contemporary art museum and art education in educational institutions under Guangdong Province; and (3) to develop guidelines for implementation of cooperation between contemporary art museum and art education in educational institutions under Guangdong Province.</p> <p>The research was a mixed methodology research, including qualitative and quantitative research. The total population of the study was 1081 people, including 18 rated contemporary art museums from Guangdong Province who had participated in art education cooperation projects. They were the staff of contemporary art museums, art education managers, art education teachers, and contemporary art museum directors. The sample size was determined based on the Taro Yamane formula and obtained using stratified random sampling. The final sample size was 301 people. Among them, 8 key informants, namely the director of the contemporary art museum, art education teachers, and art education managers. The tools used for data collection were semi-structured interviews and a five level rating scale questionnaire. Descriptive statistics, confirmatory factor analysis, were used for statistical data analysis, and content analysis.</p> <p>The research findings revealed that:1.The cooperation model between Guangdong contemporary art museum and art education in educational institutions consisted of 6 components and 24 indicators, including (1) cooperation subjects, (2) social environment, (3) cooperation mechanism, (4) cooperation motivation, (5) construction of cooperation relationship, and (6) impact of cooperation. 2. The cooperation model between Guangdong contemporary art museum and art education in educational institutions was consistent with empirical data, and all data met the prescribed standards. 3. There were a total of 24 implementation guidelines for the cooperation between Guangdong contemporary art museum and art education in educational institutions.</p> Ding Yushan Chuanchom Chinatangkul Kamolmal Chaisirithanya Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 252 278 PROFESSIONAL COMPETENCY OF STUDENTS IN DISPLAY DESIGN MAJOR OF COLLEGES AND UNIVERSITIES UNDER GUANGDONG PROVINCE https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/3331 <p>The objectives of this research were: (1) to explore the components of professional competency of students in display design major of colleges and universities under Guangdong Province; and (2) to propose the managerial guidelines for professional competency of students in display design major of colleges and universities under Guangdong Province.</p> <p>The research methodology was mixed methodology, including qualitative research and quantitative research. The population includes managers and lecturers of display design majors in universities affiliated to Guangdong Province, total 1896. The adequate sample size were determined by the table (1970) of Krejcie and Morgan, totaling 337. The key informants were as follows: four entrepreneurs were managers with more than eight years of relevant work experience related to the display design industry, including company founders, general managers, executives and senior managers of design companies; four lecturers were teaching display design for more than five years and have trained more than two graduating students in the profession; four students were required to be within three years of graduation and working in a job related to the display design major, obtained by purposive sampling method. The instruments used for data collection were semi-structured interview form, five-point rating scale questionnaire, and Focus Group Discussion form. The statistics used for data analysis were descriptive statistics and Exploratory Factor Analysis as well as content analysis was employed.</p> <p>The research findings revealed that: (1)there were five components on Professional Competency which consisted of Aesthetic, creative and decision-making skills, software operation and construction knowledge, operational and practical skills, art and design basics, corporate training skills; and (2) there were total 19 managerial guidelines on Professional Competency in colleges and universities under Guangdong Province which consisted of four managerial guidelines for component of aesthetic, creative and decision-making skills, five managerial guidelines for software operation and construction knowledge, three managerial guidelines for operational and practical skills, three managerial guidelines for art and design basics, and four managerial guidelines for corporate training skills.</p> Chen Yanyan Kamolmal Chaisirithanya Chuanchom Chinatangkul Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 176 187 การตีความเชิงปรัชญากับความเมตตาต่อสัตว์ https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/6300 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการตีความเชิงปรัชญาเพื่อสร้างคำอธิบายใหม่เกี่ยวกับความเมตตาต่อสัตว์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีวิจัยทางปรัชญา โดยรวบรวมข้อมูลหลักประเภทเอกสารนำมาสู่การตีความเชิงปรัชญาของกาดาเมอร์ตามทฤษฎีการหลอมรวมครอบฟ้าตามผู้อ่าน ผลการวิจัย พบว่า 1. สารัตถะของสัตว์มี 3 สถานะ คือ 1) เป็นสิ่งของ เนื่องจากมีทรรศนะว่าสัตว์มีชีวิตแต่ไม่ได้มีจิตวิญญาณ 2) สัตว์มีชีวิตและมีจิตวิญญาณ แต่เป็นในระดับต่ำ และ 3) สัตว์มีชีวิตและมีจิตวิญญาณเหมือนกับมนุษย์ 2. คุณค่าของสัตว์มี 3 ระดับ ได้แก่ 1) ความเป็นสิ่งของ 2) ความเป็นเจ้าของ และ 3) ความเป็นเพื่อน 3. ความเมตตาต่อสัตว์เป็นคุณธรรมข้อสำคัญที่มนุษย์ควรที่จะประพฤติเป็นประจำ มี 2 ระดับ ได้แก่ 1) การมีเมตตาต่อสัตว์ในรูปแบบความสัมพันธ์ฉัน-มัน จึงเน้นไปที่การเกื้อกูลดูแล และให้เสรีภาพแก่สัตว์ และ 2) การมีเมตตาต่อสัตว์ในรูปแบบความสัมพันธ์แบบฉัน-เธอ ปฏิบัติต่อสัตว์ด้วยการให้เกียรติกัน เป็นมิตรต่อกัน และไม่ล่วงเกินเบียดเบียนกัน ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นหลักทำความเข้าใจพื้นฐานความเมตตาของมนุษย์ที่มีต่อสัตว์ได้ในบริบท ต่าง ๆ กัน</p> เอนก สุวรรณบัณฑิต อัครกาญจน์ วิชัยดิษฐ์ Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 188 199 การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อมาตรฐาน คุณภาพผู้เรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา นครปฐม เขต 2 https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/2670 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษามาตรฐานคุณภาพของผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารที่ส่งผลต่อมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 (สพป. นครปฐม เขต 2) จำนวน 108 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลจำนวนโรงเรียนละ 3 คน คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานการบริหารงานวิชาการ ครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 300 คน คิดเป็นร้อยละ97.20 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การวิเคราะห์สมการถดถอยพหูคูณแบบขั้นตอน (Stepvvise Multiple Regression Analysis) วิเคราะห์สถิติโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป</p> <p> <strong>ผลการวิจัย พบว่า </strong></p> <p> 1) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 4 ด้าน และอยู่ในระดับมาก 3 ด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการวางแผนงานด้านวิชาการ ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ด้านการวัดผลประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา และ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ตามลำดับ</p> <p> 2) มาตรฐานคุณภาพของผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้านเรียงจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ตามลำดับ</p> <p> 3) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารที่ส่งผลต่อมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 ได้แก่ด้าน การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ และ การวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน ส่งผลต่อมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยภาพรวมได้ร้อยละ 33.6 ค่าประสิทธิภาพในการทำนายที่ปรับแล้ว (Adjusted R Square) เท่ากับ 0.104 และมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการทำนาย (Standard Error) เท่ากับ 0.320</p> สุภาวดี ศรีเพชร ขัตติยา ด้วงสำราญ Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 101 112 Effects of Ethical Leadership of Administrators on Organizational Commitment of Higher Vocational Medical Colleges under Henan Province: A Moderated Mediation Effect of Job Satisfaction and Job Stress https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/4768 <p>There were a lot of study about the relationship between ethical leadership and teachers’ commitment, but little was known about how ethical leadership was correlated with different dimensions of job satisfaction of teachers. The objectives of this study were: (1) to find the effect of ethical leadership on organizational commitment, (2) to find the effect of ethical leadership on job satisfaction, (3) to find the mediation effect of job satisfaction on the relationship between ethical leadership and organizational commitment, and (4) to find the moderation effect of job stress on the relationship between job satisfaction and organizational commitment.</p> <p> This study employed a quantitative survey research approach. The population in this study were teachers from five vocational medical colleges in Henan Province, totally 4,210 teachers. A sample of 455 teachers was determined using the G*Power program with a test power of 0.8, utilizing a multi-stage random sampling method. Data collection was conducted through surveys, and data analysis was performed by using some statistical package software. Statistics for data analysis were descriptive statistics, a Confirmatory Factor Analysis (CFA) and a Structural Equation Modeling (SEM).</p> <p> The research findings were; (1) there was a positive effect of ethical leadership on organizational commitment, (2) there was a positive effect of ethical leadership on job satisfaction, (3) There was a positive mediation effect of job satisfaction on the relationship between ethical leadership and organizational commitment, and (4) there was a moderation effect of job stress on the relationship between job satisfaction and organizational commitment in a manner of when teachers’ stress were high, the effect of job satisfaction on commitment were high, meanwhile, when teachers’ stress were low, the effect of job satisfaction on commitment were low as well. </p> Li Pu Sukhum Moonmuang Sataporn Pruettikul Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 12 26 รูปแบบการพัฒนาทักษะการเป็นพิธีกรมืออาชีพโดยใช้กิจกรรม ของนักศึกษาที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) https://so07.tci-thaijo.org/index.php/dsr/article/view/6242 <p>บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการเป็นพิธีกรมืออาชีพโดยใช้กิจกรรมของนักศึกษาที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) ในการศึกษาครั้งนี้ได้จากการวิเคราะห์และทบทวนวรรณกรรมเพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาทักษะการเป็นพิธีกรมืออาชีพของนักศึกษาที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) โดยทำความเข้าใจถึงลักษณะของผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) ทำหน้าที่พิธีกร พบว่า อุปสรรคปัญหาไม่สามารถสร้างบรรยากาศให้สนุกสนานตื่นเต้นได้ ขาดพลัง บุคลิกภาพไม่เป็นที่น่าสนใจ ขาดไหวพริบ ปฏิภาณ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าไม่ได้ ไม่กล้าแสดงออก ซึ่งทักษะพิธีกรมืออาชีพ ประกอบด้วย ทักษะการใช้ภาษา ทักษะบุคลิกภาพที่เหมาะสม โดยแนวทางพัฒนาทักษะการเป็นพิธีกรมืออาชีพโดยใช้กิจกรรมของนักศึกษาที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) ได้แก่ ปัจจัยด้านความรู้ของพิธีกรมืออาชีพ ปัจจัยด้านทักษะของพิธีกรมืออาชีพ</p> ปัทมา สารสุข Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยธรรมศึกษา https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2024-12-31 2024-12-31 7 2 300 309