ปัจจัยของการจัดกิจกรรมสัมมนาพัฒนาศักยภาพเพื่อการสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลากรทางการบิน
คำสำคัญ:
สัมมนา, การพัฒนาศักยภาพ, บุคลากรทางการบิน, การบินบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยของการจัดกิจกรรมสัมมนาพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลากรทางการบิน และ 2) ถอดบทเรียนจากสภาพการณ์และแนวทางการดำเนินกิจกรรมสัมมนาพัฒนาศักยภาพ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสายการบิน
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ด้วยเครื่องมือวิจัย การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทรงคุณวุฒิ (Expert Interview) สายวิชาการและสายวิชาชีพการบินโดยเลือกแบบเจาะจงจำนวน 9 คน มุ่งเน้นเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากความเชี่ยวชาญระดับลึก ผนวกกับการศึกษาเชิงเอกสาร (Documentary Research) ด้วยการทบทวนวรรณกรรม แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมข้อมูลมาใช้ถอดบทเรียน (Lesson Learned) บูรณาการถอดบทเรียนจากประสบการณ์ (Experiential Learning) และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลเชิงเหตุผลออกมาเป็นองค์ความรู้ใหม่
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่สำคัญของการพัฒนาศักยภาพอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการใช้กิจกรรมสัมมนา มุ่งเน้นความสำคัญของการจัดเตรียมอย่างเป็นระบบ และรูปแบบการสัมมนา อาทิ การสัมมนาวิชาการเชิงปฏิบัติการ และการสัมมนาเชิงประสบการณ์ร่วมกับวิทยากร ด้วยการบูรณาการแนวคิดการฝึกอบรมและประเมินผลสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับนิรภัยการบิน (Competency-Based Training and Assessment) แนวคิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลากรทางการบิน (8 core competencies) และแนวคิดระบบการจัดการนิรภัยทางการบิน (Safety Management System) ขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) รวมถึงการปลูกฝังความมี ใจรักการบริการ (Service Mind) เพื่อสร้างนักศึกษาให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สู่อุตสาหกรรมการบินต่อไป
References
กฤษณ์ วิทวัสสำราญกุล, ณัฏฐยา ศรีสุภา และกัลยาณี ประดับพงษา. (2568). บรรยากาศความปลอดภัยภายในห้องโดยสารที่ส่งผลต่อพฤติกรรมความปลอดภัย กรณีการศึกษาพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินที่ปฏิบัติหน้าที่. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 21(2), 63-80. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/SPUCJ/article/view/276503
กิตติพิชญ์ หนูทอง และไพฑูรย์ มนต์พานทอง. (2563). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการบริการของพนักงานต้อนรับภาคพื้นดินสายการบินต้นทุนต่ำ : ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 14(1), 191-210. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/journaldtc/article/view/241404
ณัฐพล มหาทรัพย์, ชเนตตี พิพัฒนางกูร และสุนันทา พาสุนันท์. (2565). ความท้าทายและโอกาสของธุรกิจการบินในประเทศไทยสู่ชีวิตวิถีใหม่หลังการระบาดของโรคโควิด-19. วารสารวิชาการการบินการเดินทางและการบริการ, 1(1), 1-19. https://so07.tci-thaijo.org/index.php/tft/article/view/1213
ตระกูล จิตวัฒนากร. (2565). แนวทางในการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรของสายการบินในประเทศไทย. วารสารวิจยวิชาการ, 5(3), 83-92. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jra/article/view/253902
ทิพย์วิมล วังแก้วหิรัญ. (2562). รูปแบบการเรียนการสอนด้วยยุทธศาสตร์สะท้อนอภิปัญญาร่วมกับการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน : นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 19(2), 1–16. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/eduthu/article/view/168777
ทิศนา แขมมณี. (2564). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 25). ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีรพันธ์ เชิญรัมย์. (2563). องค์การแห่งการเรียนรู้: การเรียนรู้จากการปฏิบัติ. วารสารวิจยวิชาการ, 3(1), 185-196. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jra/article/view/193374
ธนะวิทย์ เพียรดี. (2567). รูปแบบการจัดการการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการสัมมนาเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน. วารสารศิลปการจัดการ, 8(3), 252-277. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jam/article/view/271708
ปวริศ อนุสรณ์พานิช. (2567). หลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในด้านการฝึกอบรมการเจรจาต่อรองขั้นพื้นฐานเพื่อการจัดการความขัดแย้งที่มีประสิทธิภาพ. วารสารการจัดการโซ่คุณค่าและกลยุทธ์ธุรกิจ, 3(2), 65-80. https://so08.tci-thaijo.org/index.php/VCMBS/article/view/3004
ปอยขวัญ เขมา. (2565). การพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนพิชัยด้วยชุดกิจกรรมตามแนวคิด Outward Mindset สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร]. NU Intellectual Repository. https://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5676
ปุญณัฐส์ นำพา และญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา. (2564). แบบจำลองสมรรถนะของนักบินผู้ควบคุมอากาศยานประสบการณ์การบินและนวัตกรรมการจัดการที่มีผลต่อประสิทธิผลของการปฏิบัติการบินในประเทศไทย. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 7(1), 66-84. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/svittj/article/view/189489
ภัทรภรณ์ เริงศาสตร์, ชนินทร์ วิชชุลตา และพรพนา ศรีสถานนท์. (2568). ศักยภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรแผนกปฏิบัติการบริการภาคพื้นดิน ของบริษัทการบินไทยจำกัด (มหาชน). วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, 8(1), 202–210. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JPR/article/view/286589
วิลาศ ดวงกำเนิด. (2562). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสำหรับพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินบริษัทการบินไทยจำกัด (มหาชน) ที่มีผลประเมินต่ำกว่า มาตรฐาน. วารสารสุทธิปริทัศน์, 33(108), 51-62. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/view/242257
วีณา พึงวิวัฒน์นิกุล. (2562). สัมมนาการบริหารองค์การในภาครัฐ (พิมพ์ครั้งที่ 3). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศักดิ์ชัย เอี่ยมกระสินธุ์ และชุติมา มณีวัฒนา. (2565). การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการแสดงด้วยกระบวนการจิตตปัญญาศึกษา และทฤษฎีผู้นำ 4 ทิศ. วารสารศิลป์ปริทัศน์ คณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 10(1), 47-61. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/APJ/article/view/251307/170707
ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์. (2555). บุพปัจจัยของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและผลที่มีต่อคุณลักษณะการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ตามการรับรู้ของพนักงานในสถานประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานคร.มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
สมชาย แสงดาว. (2568). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองแบบเสมือนจริงเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการเรียนรู้ของนักเรียนนายสิบตำรวจ. Journal for Developing the Social and Community, 12(1), 23-42. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rdirmu/article/view/284410
สิทธิปัฐพ์ มงคลอภิบาลกุล. (2565). ความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือนในมุมมองของสนามบิน. แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.
สุภางค์ จันทวานิช. (2561). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 24). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2565, ตุลาคม). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 - 2570) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. http://www.secondarytak.go.th/wp-content/uploads/2022/12/แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน-2566-2570-ของ-สพฐ.pdf
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ. (2564). แนวทางจริยธรรมการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2). กองมาตรฐานการวิจัย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.
อารยา มันตราภรณ์ และวารุณี สุวรวัฒนกุล. (2562). บุพปัจจัยของพฤติกรรมจิตบริการตามการรับรู้ตนเองของนักศึกษาพยาบาลตามหลักการ SERVICE MIND. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางสุขภาพ, 2(1), 229-237. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/jhri/article/view/243291
Bernard, H. R. (2013). Social Research Methods: Qualitative and Quantitative Approaches (2nd ed.). Sage Publications.
Chambers, R. (2002). Participatory workshops: A sourcebook of 21 sets of ideas and activities. Routledge.
Creswell, J. W. (2013). Qualitative inquiry and research design: Choosing among five approaches (3rd ed.). Sage Publications.
Evan, N. (1994). Experiential learning for all. Cassell Education.
Gibbs, L., Slevitch, L., & Washburn, I. (2017). Competency-Based Training in Aviation: The Impact on Flight Attendant Performance and Passenger Satisfaction. Journal of Aviation/Aerospace Education & Research, 26(2), 55-80. https://doi.org/10.15394/jaaer.2017.1716
Gordon, P., & Lawton, D. (2019). A History of Western Educational Ideas. Routledge.
Hudson, P. (2007). Implementing a safety culture in a major multi-national. Safety Science, 45(6), 697-722. https://doi.org/10.1016/j.ssci.2007.04.005
Hyland, K. & Shaw, P. (2016). The Routledge Handbook of English for Academic Purposes. Routledge.
International Air Transport Association. (2024). Competency-Based Training and Assessment (CBTA) Expansion within the Aviation System. International Air Transport Association. iata. https://www.iata.org/contentassets/c0f61fc821dc4f62bb6441d7abedb076/cbta-expansion-within-the-aviation-system.pdf
International Civil Aviation Organization. (2013). Manual of Evidence-based Training (Doc 9995AN/497). International Civil Aviation Organization.
International Civil Aviation Organization. (2020). Procedures for Air Navigation Services—Training (3rd ed.) (Doc 9868). International Civil Aviation Organization.
Jeffrey, C. P. & Jeffrey S. F. (2008). Practical aviation security. Elsevier Inc.
Kolb, D. A. (1984). Experiential learning: Experience as the source of learning and development. Prentice Hall.
Patton, M. Q. (1990). Qualitative evaluation and research methods (2nd ed.). Sage Publications.
Qian, Q., & Lin, P. (2016). Safety risk management of underground engineering in China: Progress, challenges and strategies. Journal of Rock Mechanics and Geotechnical Engineering, 8(4), 423-442. https://doi.org/10.1016/j.jrmge.2016.04.001
Rowntree, D. (1981). A Dictionary of education. Harper & Row.
Scott, J. (2006). Documentary Research. Sage Publications.
Stolzer, A. J., Sumwalt, R. L., & Goglia, J. J. (2023). Safety management systems in aviation. CRC Press.