https://so07.tci-thaijo.org/index.php/tft/issue/feedวารสารวิชาการการบิน การเดินทาง และการบริการ2025-06-30T23:59:33+07:00Research and Innovation Centerresearch@tft.co.thOpen Journal Systems<p><span class="Apple-converted-space">วารสารวิชาการการบิน การเดินทางและการบริการ (Journal of Aviation, Travel, and Service) เป็น</span>วารสารวิชาการด้านการบินฝั่งเอกชนวารสารแรกของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่ความรู้เชิงวิชาการเพื่อประโยชน์แก่เศรษฐกิจ สังคมและประเทศชาติ ดำเนินงานโดยศูนย์วิจัยและนวัตกรรม บริษัท ไทยไฟลท์เทรนนิ่ง จำกัด บริษัทภายใต้กำกับของ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจากมหาวิทยาลัยและองค์ชั้นนำด้านการบินและบริหารธุรกิจ มากกว่า 10 แห่ง</p> <p><span class="Apple-converted-space"> </span>เปิดรับบทความวิจัยและบทความทางวิชาการ ด้านการจัดการธุรกิจการบิน การท่องเที่ยว ธุรกิจบริการและด้านบริหารธุรกิจในสาขาที่เกี่ยวข้อง บทความจะถูกกลั่นกรองในรูปแบบ Double Blinded Review ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน 3 ท่านต่อ 1 บทความ กำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ได้แก่ ฉบับแรก เดือนมกราคม-มิถุนายน และฉบับที่สอง เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม</p> <p><span class="Apple-converted-space"> </span>บทความที่ผ่านการคัดเลือกจะได้รับใบตอบรับพร้อมทั้งประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติจากทางบริษัทฯ</p> <p><strong>ISSN 2822-0129 (Print)</strong></p> <p><strong>ISSN 2822-0137 (Online)</strong></p> <p> </p> <p>ท่านสามารถส่งบทความได้ที่ปุ่ม Make Submission หรือ <a href="https://so07.tci-thaijo.org/index.php/tft/about/submissions">คลิกที่นี่</a></p> <p>Template บทความภาษาไทย <a href="https://docs.google.com/document/d/1TPkzBdOE-HbajQ55LtXe6XWpKI2dwr-U/edit?usp=share_link&ouid=113177586107592201679&rtpof=true&sd=true">คลิกที่นี่</a></p> <p>Template บทความภาษาอังกฤษ <a href="https://docs.google.com/document/d/1TPkzBdOE-HbajQ55LtXe6XWpKI2dwr-U/edit?usp=share_link&ouid=113177586107592201679&rtpof=true&sd=true">คลิกที่นี่</a></p> <p>Author guideline รูปแบบการจัดเอกสารและการอ้างอิง <a href="https://drive.google.com/file/d/1n5U_CcnUAv84WXzG84THuJADu_aP35U_/view?usp=share_link">คลิกที่นี่</a></p> <p>หากท่านมีข้อสงสัยสามารถสอบถามได้ที่ research@tft.co.th<br />หรือ โทร 02-545-3082</p> <p> </p>https://so07.tci-thaijo.org/index.php/tft/article/view/7416Personal factors influencing the decision to choose eco-friendly airlines at Chiang Mai International Airport2025-04-11T11:28:14+07:00Phichaya Maneeratphichaya_man@g.cmru.ac.thSuthamanee Thanaboonruangsuthamanee_tha@g.cmru.ac.th<p>As the environmental impact of the airline industry becomes a growing concern for both travelers and policymakers, demand for sustainable aviation continues to intensify. Despite the recent global growth in eco-friendly air travel options, research on Thai consumers’ attitudes and behaviors toward green airlines, and eco-friendly flight options in Thailand, remains limited. To address this gap, this study investigates how “personal factors” would influence Thai consumers’ decisions to choose environmentally friendly airline services. As an extension, this study provides research-based recommendations to support airlines design targeted marketing strategies for eco-friendly passengers, which are in accordance with the International Civil Aviation Organization’s (ICAO) sustainability goals. For the purposes of this study, quantitative research was conducted on 420 passengers at Chiang Mai International Airport. Furthermore, this study employed a ‘one-way ANOVA’ method for the purposes of its statistical analysis. The results revealed that age, education, and income significantly influenced passengers’ decisions to fly with eco-friendly airlines, while gender appeared to have had little to no impact regarding this selection. These findings highlight the importance of targeting well-educated, middle-aged, and higher-income travelers who are more likely to choose sustainable options. However, the scope of this study is limited to a single airport. Future research may conduct at various airports across Thailand and apply mixed-method research to gain deeper information about Thai consumer behavior related to sustainable aviation.</p>2025-06-30T00:00:00+07:00Copyright (c) 2025 วารสารวิชาการการบิน การเดินทาง และการบริการhttps://so07.tci-thaijo.org/index.php/tft/article/view/7337Language Barriers and English Oral Communication Strategies: A Case Study of Thai Vendors Interacting with Foreign Tourists in Hat Yai, Songkhla2025-05-04T20:26:11+07:00Jiratchaya Kaewphiboonmonalissx2@gmail.comChutikan Intharatmojimojojung@gmail.comFareeda La-adamfareedalaadam@gmail.comThitipat Wattajatukiatthitipat.wa@psu.ac.thHowhan Thaveesenghowhan.t@psu.ac.th<p>In Hat Yai’s tourism sector, local marketplaces act as key economic hubs and major attractions for international tourists. However, limited English proficiency remains a barrier to effective communication, hindering commercial activities. Recognizing this issue is essential for research that supports career development and local tourism promotion, yet empirical studies in this specific context remain limited. This research aimed to: 1) investigate the language barriers encountered by Thai vendors while interacting with foreign tourists in English at the markets in Hat Yai, and 2) examine the strategies employed by the Thai vendors to overcome these language barriers. This qualitative study employed purposive sampling to conduct interviews with 30 vendors operating in three major markets in Hat Yai. The findings indicated that the primary listening difficulty was understanding tourists’ accents (76.67%), followed by vocabulary issues (56.67%). With regard to speaking, challenges primarily involved limited vocabulary (83.33%) and pronunciation (33.33%). To resolve these challenges, vendors regularly asked tourists to repeat themselves (43.33) and used Google Translate as a strategy to facilitate communication (43.33%). When speaking, they often relied on non-verbal cues, such as gestures, to complement their speech (63.33%). The researcher recommends organizing training sessions to enhance vendors’ English listening and speaking skills, as well as instructing them on how to use translation applications. These recommendations could significantly improve communication and make smooth business interactions.</p>2025-06-30T00:00:00+07:00Copyright (c) 2025 วารสารวิชาการการบิน การเดินทาง และการบริการhttps://so07.tci-thaijo.org/index.php/tft/article/view/7212แนวทางพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวชุมชนบ้านนาถ่อน อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม2025-05-04T20:25:43+07:00สุภัทรา เขียวศรีsupratra.kh@npu.ac.thโอชัญญา บัวธรรมochanya.b@msu.ac.thนันทนา ลาภวิเศษชัยnantana.o@msu.ac.thลินจง โพชารีlinjong.p@msu.ac.th<p>บทความวิจัยเรื่อง แนวทางพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวชุมชนบ้านนาถ่อน อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) ชุมชนบ้านนาถ่อน อำเภอธาตุพนนม จังหวัดนครพนม 2) เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพชุมชนบ้านนาถ่อน อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) เพื่อสอบถามความคิดเห็นและประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวที่เคยเดินทางมาท่องเที่ยวในชุมชนบ้านนาถ่อน จำนวน 15 คน โดยคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ผลการศึกษา พบว่า ชุมชนมีจุดแข็งด้านวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชนเผ่าไทกวน แต่มีจุดอ่อนคือ ที่พักไม่เพียงพอ ขาดการประชาสัมพันธ์ และบุคลากรรุ่นใหม่ด้านการบริหารท่องเที่ยว ส่วนโอกาสภาครัฐสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชน การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ขณะที่อุปสรรค คือ การแข่งขันจากแหล่งท่องเที่ยวอื่นในตัวจังหวัด ผลกระทบจากฤดูกาล และพฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนไป ในส่วนของการวิเคราะห์ศักยภาพชุมชนบ้านนาถ่อนนั้น ชุมชนบ้านนาถ่อนมีแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เป็นเอกลักษณ์ อีกทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สมบูรณ์ ส่วนการเดินทางเข้าถึงสะดวก ตั้งอยู่บนเส้นทางคมนาคมหลัก มีกิจกรรมการท่องเที่ยวมีความหลากหลาย อาทิเช่น การตีเหล็กโบราณ การทอผ้า จักสาน การทำเกลือสินเธาว์ การนวดสมุนไพร การท่องเที่ยวเชิงเกษตร และการทำอาหารพื้นถิ่น อีกทั้งชุมชนมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและถ่ายทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อสร้างประสบการณ์ในการเรียนรู้วิถีชีวิตของชุมชน ผลการศึกษานี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านนาถ่อน จังหวัดนครพนม โดยเน้นการยกระดับสิ่งอำนวยความสะดวกภายในชุมชน อาทิ ห้องน้ำสาธารณะ ร้านอาหาร ที่พัก ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว และเส้นทางจักรยาน ควบคู่กับการส่งเสริมกิจกรรมท่องเที่ยวที่สะท้อนอัตลักษณ์ของชุมชน เช่น ประเพณีท้องถิ่น การประกวดอาหาร และการแสดงดนตรีพื้นบ้าน พร้อมทั้งเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อดิจิทัล และจัดอบรมให้แก่คนในชุมชนด้านการบริหารจัดการการท่องเที่ยว เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนสู่ความยั่งยืนในระยะยาว</p>2025-06-30T00:00:00+07:00Copyright (c) 2025 วารสารวิชาการการบิน การเดินทาง และการบริการhttps://so07.tci-thaijo.org/index.php/tft/article/view/7840ปัจจัยของการจัดกิจกรรมสัมมนาพัฒนาศักยภาพเพื่อการสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลากรทางการบิน2025-06-18T16:54:06+07:00จิรัชญา พิศมัยjiratchaya.ph@gmail.com<p>บทความวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยของ การจัดกิจกรรมสัมมนาพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลากรทางการบิน และ 2) ศึกษาสภาพการณ์ และนำเสนอผลงานกิจกรรมสัมมนา สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสายการบิน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ด้วยเครื่องมือวิจัย การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทรงคุณวุฒิ (Expert Interview) เลือกแบบเจาะจงจำนวน 9 คน มุ่งเน้นเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากความเชี่ยวชาญระดับลึก ผนวกกับการศึกษาเชิงเอกสาร (Documentary Research) ด้วยการทบทวนวรรณกรรม แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมข้อมูลมาใช้ถอดบทเรียน (Lesson Learned) บูรณาการถอดบทเรียนจากประสบการณ์ (Experiential Learning) และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลเชิงเหตุผลออกมาเป็นหลักการและองค์ความรู้ใหม่</p> <p>ผลการวิจัย พบว่า การจัดกิจกรรมสัมมนาเป็นปัจจัยที่สำคัญของการพัฒนาศักยภาพ เพื่อสร้างนักศึกษาให้เป็นบุคลากรทางการบินที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยมุ่งเน้นความสำคัญของขั้นตอนจัดเตรียม และรูปแบบของกิจกรรมสัมมนา ด้วยการคัดเลือกวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ และคุณสมบัติเหมาะสมผ่านการประยุกต์ใช้หลักการจากองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) มาประกอบการสัมมนา อาทิ หลักการ Competency-Based Training and Assessment (CBTA), 8 core competencies และ Safety Management System (SMS) รวมถึงการปลูกฝังความมีใจรักการบริการ (Service Mind)</p>2025-06-30T00:00:00+07:00Copyright (c) 2025 วารสารวิชาการการบิน การเดินทาง และการบริการhttps://so07.tci-thaijo.org/index.php/tft/article/view/8034ถอดบทเรียนเหตุการณ์แผ่นดินไหวกรุงเทพมหานคร 28 มีนาคม 2568 แนวทางการรับมือในด้านการบิน การเดินทาง และการบริการในสถานการณ์ฉุกเฉิน2025-06-14T17:24:30+07:00ปวริศ อนุสรณ์พานิชpawaris.anusornphanich@gmail.com<p>บทความวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ศึกษาด้วยแนวทางปรากฏการณ์วิทยา เชิงอัตถิภาวนิยม (Existential Phenomenological Approach) มุ่งศึกษาเกี่ยวกับประสบการณ์ของบุคลากรการบิน การเดินทาง และการบริการ ที่เผชิญกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวในกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการณ์และถอดบทเรียนจากประสบการณ์ของผู้ประสบเหตุการณ์แผ่นดินไหว และ 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางการรับมือกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยได้ในอนาคต โดยใช้เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 2.1) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 33 คน (Purposive Selection) 2.2) การศึกษาเชิงเอกสาร (Documentary Research) 2.3) การถอดบทเรียนจากประสบการณ์ตรง (Experiential Learning) 2.4) การถอดบทเรียน (Lesson Learned) และ 2.5) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) เพื่อดำเนินการศึกษาข้อค้นพบเชิงประจักษ์ และบูรณาการแนวคิดเชิงหลักการออกมาเป็นองค์ความรู้ใหม่</p> <p>ผลการวิจัย พบว่า ประเทศไทยยังขาดประสบการณ์ ความรู้ ความเข้าใจ และไม่คุ้นชินกับการรับมือแผ่นดินไหว จึงมีความจำเป็นต้องเร่งสร้างความรู้ความเข้าใจ ทั้งด้านทฤษฎีและวิธีปฏิบัติ เกี่ยวกับการรับมือแผ่นดินไหวในมิติต่าง ๆ อาทิ 1) การรับมือภัยพิบัติ 3 ระยะ 2) การรับมือเชิงบริบท 3) การปฏิบัติตนขณะเกิดเหตุ 4) การปฏิบัติตนให้ปลอดภัย และ 5) การรับมือแผ่นดินไหวเชิงสถานการณ์ โดยเฉพาะด้านการบิน และ การเดินทาง ที่เกี่ยวข้องกับการบริการด้วยความปลอดภัย เพื่อให้สามารถรับมือกับปรากฏการณ์แผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นอีกในอนาคตได้อย่างถูกวิธี มีประสิทธิภาพ มั่นใจ และปลอดภัย</p>2025-06-30T00:00:00+07:00Copyright (c) 2025 วารสารวิชาการการบิน การเดินทาง และการบริการ