สวนของพ่อ: วิธีการทำเกษตรอินทรีย์ กรณีศึกษา นายสุวัฒน์ นุชม่วง บ้านหนองชุมแสง ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

Main Article Content

สุดารัตน์ พูลสุข
จิตติมา ดำรงวัฒนะ
พงศ์ประสิทธิ์ อ่อนจันทร์
อรรครา ธรรมาธิกุล

บทคัดย่อ

          บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาหลักคิดการทำเกษตรอินทรีย์ กรณีศึกษา นายสุวัฒน์ นุชม่วง บ้านหนองชุมแสง ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง 2) เพื่อศึกษาวิธีการทำเกษตรอินทรีย์ โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่ทำเกษตรอินทรีย์ในโคงการทั้งหมดจำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แบบสัมภาษณ์ 2) การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม 3) เครื่องบันทึกภาพ 4) เครื่องบันทึกเสียง ผลการวิจัยพบว่า: 1) หลักคิดการทำเกษตรอินทรีย์ พบว่า 1.1) หลักคิดการอนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พบว่า การใช้ทรัพยากรที่อยู่ในสวนเกษตรมาทำให้เกิดประโยชน์ 1.2) หลักคิดการฟื้นฟูระบบนิเวศเกษตร พบว่า สวนของพ่อมีการฟื้นฟูด้วยการปลูกพืชหลากหลายชนิด และผสมผสานเข้ากับการเลี้ยงสัตว์ 1.3) หลักคิดการพึ่งกลไกธรรมชาติ พบว่า สวนของพ่อมีการใช้ปุ๋ยหมักที่ทำจากเศษพืช และการคลุมดินด้วยอินทรียวัตถุ 1.4) หลักคิดการพึ่งตนเอง พบว่า สวนของพ่อ เป็นการพึ่งตนเองด้านการทำเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ โดยไม่มีการนำสารเคมีมาใช้ 2) วิธีการทำเกษตรอินทรีย์ พบว่า 2.1) วิธีการลดการไถพรวนดิน พบว่า มีการปลูกพืชตระกูลถั่ว เพราะการปลูกถั่วเป็นการสร้างดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ 2.2) วิธีการปรับปรุงดิน พบว่า มีการปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยพืชสด 2.3) วิธีการใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก พบว่า การใส่ปุ๋ยลงไปในดินจะต้องอยู่ในบริเวณที่รากพืชดูดไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว โดยทั่วไปจะสังเกตจากบริเวณที่ปลายรากพืช 2.4) วิธีการผสมผสานการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชนวน รัตนวราหะ. (2550). เกษตรอินทรีย์. นนบุรี: สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร.

เทพกร ณ สงขลา. (2550). รูปแบบการจัดการทรัพยากรการเกษตรที่ยั่งยืนในอำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช. ใน วิทยานิพนธ์บัณฑิต สาขาการจัดการทรัพยากรเกษตรเขตร้อน. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ผดุงศักดิ์ วิชาเรือง. (2550). การศึกษาการดำเนินงานโครงการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ในโรงเรียนบ้านศุภชัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 13 กรณีศึกษา. ใน วิทยานิพนธ์ สาขาพัฒนาการศึกษา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พระณรงค์ศักดิ์ น่วมเจริญ. (2558). ผู้นำกับกำรสร้างชุมชนเกษตรอินทรีย์ ศึกษำผ่านผู้นำชุมชน: ชุมชนบ้ำนชำปลาไหล ตำบลสองพี่น้อง อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุร. ใน วิทยานิพนธ์ สาขาพัฒนาชุมชนมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ไพรโรจน์ ภัทรนรากุล. (2545). เรื่องชุมชนพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 42(3), 1-73.

มนตรี ล้วนศิริ. (2554). หลักการเกษตรอินทรีย์. ใน เอกสารประกอบการเรียนหลักสูตรการศึกษา. นอกระบบสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ. (อัดสำเนา).

ยงยทธุ ศรีเกี่ยวฝั้น และคณะ. (2555). การส่งเสริมการทําเกษตรอินทรีย์และการบริหารจัดการ ศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานของเกษตรกรใน อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

รําไพประภา มะหะหมัด. (2550). นวัตกรรมในการจัดการทรัพยากรการเกษตรเพื่อเกษตรอินทรีย์: กรณีศึกษา กลุ่มเกษตรกรผลิตข่าวอินทรีย์ อําเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร. ใน วิทยานิพนธ์ สาขาพัฒนาการศึกษา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วรรณลดา สุนันทพงศ์ศักดิ์. (2561). คลังความรู้เกษตรศาสตร์. เรียกใช้เมื่อ 2 มีนาคม 2561 จากhttps://kukr2.lib.ku.ac.th/kukr_es/covid19/researcher/researchDetail/

fb3e9b35f03d7613c8cd77e239862b39

วิฑูรย์ ปัญญากุล. (2551). ภาพรวมเกษตรอินทรีย์ไทย 2558. บทความ รายงานประจำปี. เรียกใช้เมื่อ 22 กรกฎาคม 2561 จาก http://www.greennet.or.th/article/. สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์. กรุงเทพมหานคร

สมคิด ดิสถาพร. (2550). เกษตรอินทรีย์มาตรฐานสากลประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์.

สุพจน์ บุญแรง. (2552). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

แสวง แถลงศรี. (2552). สภาพการจัดการเรียนการสอนงานเกษตรของครูผู้สอนงานเกษตรชั้นประถมศึกษาปี 5-6 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์. ใน วิทยานิพนธ์ สาขาพัฒนาการศึกษา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

หทัย ศรีสิงห์. (2551). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการปลูกข้าวอินทรีย์ของชาวนาตามโครงการเกษตรอินทรีย์ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี. ใน วิทยานิพนธ์ สาขาพัฒนาการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อัจฉริยาพร ศรีหมื่นไวย. (2553). ทัศนคติต่อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1. ใน วิยานิพนธ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

อานัฐ ตันโช. (2550). เกษตรธรรมชาติประยุกต์ แนวคิด หลักการ เทคนิคปฏิบัติในประเทศไทย. ปทุมธานี: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ,ศูนย์หนังสือ สวทช.