ชาวไทยเชื้อสายจีน: วิถีชีวิตทางวัฒนธรรม
คำสำคัญ:
วัฒนธรรม, ชาวไทยเชื้อสายจีนบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอต้นกำเนิดและวิถีชีวิตทางวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีนที่อพยพมาประเทศไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักในเรื่องของความขยัน ซื่อสัตย์ ซื่อตรงและการรักษาประวัติศาสตร์อันยาวนานของตน การตั้งรกรากในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย ซึ่งผู้อพยพชาวจีนได้ผสมผสานความเชื่อและประเพณีอันทรงคุณค่าของตนเข้ากับวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างกลมกลืน จึงทำให้เกิดเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นและมรดกอันทรงคุณค่า ด้วยเหตุนี้ เทศกาลของชาวจีนจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของชาวไทย การอพยพของชาวจีนได้แพร่กระจายอิทธิพลทางวัฒนธรรมของตนไปทั่วประเทศ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญทางวัฒนธรรมที่หลากหลายและสวยงามของชาติ
References
จรรยา เหลียวตระกูล. (2559). การสืบทอดอัตลักษณ์ชาวไทยเชื้อสายจีนที่สะท้อนผ่านประเพณีตรุษจีน ในรอบหนึ่งศตวรรษ. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 12 (3), 11-38.
ถาวร สิกขโกศล. (2557). เทศกาลจีนและการเซ่นไหว้. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
ธนัสถ์ สุวัฒนมหาตม์. (2551). เทศกาลกินเจในเดือนเก้าและปิตุมาตาอนันตคุณทุรกตเวทิตาสูตร. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ไทยธิเบต.
ธีรยุทธ สุนทรา. (2540). พุทธศาสนามหายานในประเทศไทย จีนนิกาย และอนัมนิกาย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
ประสิทธิ์ เงินชัย. (2558). การดำรงอยู่และบทบาทของวัฒนธรรมจีนในภาคตะวันออก. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 6 (2), 101-114
ปิยนาถ บุนนาค และคณะ. (2549). สำเพ็ง : ประวัติศาสตร์ชุมชนชาวจีนในกรุงเทพฯ. กรุงเทพมหานคร : เลคแอนด์ฟาวด์เท่น พริ้นติ้ง.
พรพรรณ จันทโรนานนท์. (2550). งานสารททิ้งกระจาดของชาวจีน วันฉลองการเก็บเกี่ยวหรือวันปล่อยผี. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์, 27 (1), 64-81.
ภัทรภร สุวรรณจินดา. (2560). การปรับตัวทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน : กรณีศึกษาคนไทยเชื้อสายจีน ย่านเยาวราช (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. (2550). เอกสารการสอนชุดวิชา อารยธรรมมนุษย์ หน่วยที่ 1-7. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สายชล แก้วบริสุทธิ์. (2556). เทศกาลกินเจพื้นที่ประดิษฐ์เพื่อการท่องเที่ยว (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (2558). บทความออนไลน์ เรื่อง วันไหว้พระจันทร์. สืบค้นเมื่อ 29 เมษายน 2566. จาก https://shorturl.asia/RmjUr
สุชาติ แสงทอง. (2557). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2556 โครงการพัฒนาฐานวัฒนธรรมชุมชนคนต้นน้ำเจ้าพระยาสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย และฤทธิชัย เตชะมหัทธนันท์. (2557). เทศกาลตรุษจีนเยาวราช : ภูมิหลังและพัฒนาการ (รายงานวิจัย). สำนักพัฒนาวิชาการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
Lan, Yandan. (2560). เทศกาลเช็งเม้ง : กรณีศึกษาเปรียบเทียบพิธีกรรมของขาวไทยเชื้อสายแต้จิ๋วในจังหวัดกรุงเทพมหานครและชาวจีนแต้จิ๋วในเมืองซัวเถา (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
Xu Weijie. (2555). ภาพสะท้อนการก่อสร้างตัวของคนไทยเชื้อสายจีนในสังคมไทยจากนวนิยายไทย (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2024 วารสารพุทธอาเซียนศึกษา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.