การศึกษาสงฆ์ลาว : ประชาสัมพันธ์การศึกษาต่อที่โรงเรียนมัธยมสงฆ์วัดไชยะพูมิ แขวงสะหวันเขต สปป.ลาว
คำสำคัญ:
การศึกษาสงฆ์ลาว, โรงเรียนมัธยมสงฆ์วัดไชยะพูมิ, สะหวันเขตบทคัดย่อ
บทความเรื่อง การศึกษาสงฆ์ลาว : ประชาสัมพันธ์การศึกษาต่อที่โรงเรียนมัธยมสงฆ์วัดไชยะพูมิ แขวงสะหวันเขต สปป.ลาว มีเป้าหมายสะท้อนถึงข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาของคณะสงฆ์ลาว ที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาทรัพยการมนุษย์ในศาสนา และส่งเสริมการพัฒนาคนให้กับประเทศชาติ และลดช่องว่างสำหรับการศึกษาของคณะสงฆ์ ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารและการสัมภาษณ์ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เขียนเป็นความเรียงในรูปแบบบทความวิชาการ
ข้อมูลที่พบพบว่า วัดไชยะพูมิ เป็นโรงเรียนมัธยมสงฆ์ตอนปลาย ระดับการศึกษา ม.5-7 ที่จัดการเรียนการสอนผสมรวมระหว่างวิชาสามัญ เช่น คณิตศาสตร์ เคมี ฟิสิก ชีววิทยา ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ กับวิชาด้านพระพุทธศาสนา อาทิ บาลี วินัย อภิธรรม ฯ มีกลุ่มเป้าหมายเป็นพระภิกษุสามเณรในเขตสะหวันเขต และบริเวณใกล้เคียง มีวัดในเขตสะหวันเขต ประมาณ 80 วัดรองรับการมาพักอาศัยและศึกษาต่อ มีผู้บริหารเป็นพระภิกษุและรัฐกร รวม 21 รูป/คน ที่มีพระภิกษุสามเณรที่กำลังศึกษาอยู่ในปัจจุบัน 250 รูป โดยระบบการศึกษา เป็น 5-7-4 (ประถม 5 ปี/มัธยมจำนวน 7 ปี และระดับอุดมศึกษา 4 ปี) โดยรัฐเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณทั้งในส่วนเงินเดือนและเงินอุดหนุนสำหรับโรงเรียน โดยมีเป้าหมายเป็นฐานในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้กับประเทศชาติและพระพุทธศาสนา
References
พระคันธศีล จันทร์สุวงศ์ และคณะ. (2564). แนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยหลักอิทธิบาท 4 ของโรงเรียนมัธยมสงฆ์ วัดมหาพุทธวงศาป่าหลวง นครเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. Journal of Modern Learning Development. 6 (3),266-281.
พระจันดา เคนสักดา และคณะ. (2566). กลยุทธ์การมีส่วนร่วมในการบริหารโรงเรียนสามัญศึกษาสงฆ์ แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.13 (4), 121-135.
พระบุญจันทร์ จนฺทธมฺโม (จันทสิทธิ์) และคณะ. (2562). รูปแบบการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาของคณะสงฆ์ลาว. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. 6 (3), 608-624.
พระมหาวิรวัด วิจกฺขโณ (วิไลจักร์). (2563). ศึกษารูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ลาว. วารสารศึกษิตาลัย วัดศรีสุมังคล์. 1 (2),15-28.
พระวิละวอน วิรปญฺโญ. (2560). บทบาทของพุทธบริษัทในการทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา ในเมืองปากเชสาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. 2 (3),54-65.
สายสะหมอน คำพูวง, ชวนคิด มะเสนะ. (2563). สภาพปัญหาและแนวทางการบริหารงานบุคคลของวิทยาลัยสงฆ์จำปาสัก เมืองปากเซ แขวงจำปาสัก ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต. 20 (3), 23-33.
แสงสะหวัน สิลิจันโท. (2563). สภาพปัญหาและแนวทางการบริหารงานวิชาการของวิทยาลัยสงฆ์จำปาสัก เมืองปากเซ แขวงจำปาสัก ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 20 (3), 35-46.
THE NATIONAL ASSEMBLY OF THE LAO PDR. (2015). ລັດຖະທຳມະນູນແຫ່ງສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ. สืบค้น 15 พฤษภาคม 2567 จาก https://na.gov.la/
บทสัมภาษณ์
สัมภาษณ์. พระอาจารย์มาลี กอนอุไร. (2567). ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมสงฆ์วัดไชยะพูมิ สะหวันเขต. เมื่อ 16 พฤษภาคม 2567.
สัมภาษณ์. พระอาจารย์สอระสิน ไสสะหวัน. (2567). รองผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมสงฆ์วัดไชยะพูมิ สะหวันเขต. เมื่อ 16 พฤษภาคม 2567.
สัมภาษณ์. พระอาจารย์อ่างคำ บุตสมหวัง. (2567). ครูโรงเรียนมัธยมสงฆ์วัดไชยะพูมิ สะหวันเขต. 16 พฤษภาคม 2567.
สัมภาษณ์. พระอาจารย์โอเด วิลันดอน. (2567). ครูโรงเรียนมัธยมสงฆ์วัดไชยะพูมิ สะหวันเขต. 16 พฤษภาคม 2567.
สัมภาษณ์. ท่านเพ็ดสะไหม คูนทิจัก. (2567). รัฐกรรองผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมสงฆ์วัดไชยะพูมิ สะหวันเขต. 16 พฤษภาคม 2567.
สัมภาษณ์. ท่านอาโนลาด พิมใจหาญ. (2567). เจ้าหน้าที่การศึกษาเขตสะหวันเขต. 16 พฤษภาคม 2567.สัมภาษณ์.
สัมภาษณ์. ท่านคำพอน จันทะลังสี. (2567). รองหัวหน้าสำนักงานคณะกรรมาธิการการศึกษาสงฆ์ (จำปาสัก). วิทยาลัยสงฆ์จำปาสัก วัดหลวงปากเซ. 17 พฤษภาคม 2567.
สัมภาษณ์. อาจารย์จำปา รัตนสุวรรณผล. (2567). หัวหน้าภาควิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม (ศิษย์เก่าเอกภาษาอังกฤษ มจร วิทยาเขตเชียงใหม่). เมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2567.
สัมภาษณ์. อาจารย์มงคล วัฒนา. (2567). หัวหน้าแผนกบริหาร คณะเศรษฐศาสตร์และการท่องเที่ยว (ศิษย์เก่า พธ.บ.บริหารรัฐกิจ มจร ส่วนกลาง). เมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2567.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
License
Copyright (c) 2024 วารสารพุทธอาเซียนศึกษา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.