ถอดบทเรียนเหตุการณ์แผ่นดินไหวกรุงเทพมหานคร 28 มีนาคม 2568 แนวทางการรับมือในด้านการบิน การเดินทาง และการบริการในสถานการณ์ฉุกเฉิน

ผู้แต่ง

  • ปวริศ อนุสรณ์พานิช นักบิน/นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

แผ่นดินไหว, การรับมือแผ่นดินไหว, การบิน, ภัยพิบัติทางธรรมชาติ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ศึกษาด้วยแนวทางปรากฏการณ์วิทยา เชิงอัตถิภาวนิยม (Existential Phenomenological Approach) มุ่งศึกษาเกี่ยวกับประสบการณ์ของบุคลากรการบิน การเดินทาง และการบริการ ที่เผชิญกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวในกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2568 ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการณ์และถอดบทเรียนจากประสบการณ์ของผู้ประสบเหตุการณ์แผ่นดินไหว และ 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางการรับมือกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยได้ในอนาคต โดยใช้เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 33 คน (Purposive Selection) 2) การศึกษาเชิงเอกสาร (Documentary Research) 3) การถอดบทเรียนจากประสบการณ์ตรง (Experiential Learning) 4) การถอดบทเรียน (Lesson Learned) และ 5) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) เพื่อดำเนินการศึกษาข้อค้นพบเชิงประจักษ์ และบูรณาการแนวคิดเชิงหลักการออกมาเป็นองค์ความรู้ใหม่

ผลการวิจัย พบว่า ประเทศไทยยังขาดประสบการณ์ ความรู้ ความเข้าใจ และไม่คุ้นชินกับการรับมือแผ่นดินไหว จึงมีความจำเป็นต้องเร่งสร้างความรู้ความเข้าใจ ทั้งด้านทฤษฎีและวิธีปฏิบัติ เกี่ยวกับการรับมือแผ่นดินไหวในมิติต่าง ๆ อาทิ 1) การรับมือภัยพิบัติ 3 ระยะ 2) การรับมือเชิงบริบท 3) การปฏิบัติตนขณะเกิดเหตุ 4) การปฏิบัติตนให้ปลอดภัย และ 5) การรับมือแผ่นดินไหวเชิงสถานการณ์ โดยเฉพาะด้านการบิน และ การเดินทาง ที่เกี่ยวข้องกับการบริการด้วยความปลอดภัย เพื่อให้สามารถรับมือกับปรากฏการณ์แผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นอีกในอนาคตได้อย่างถูกวิธี มีประสิทธิภาพ มั่นใจ และปลอดภัย

References

กรมการขนส่งทางราง. (2568, มีนาคม 28). กรมการขนส่งทางราง (ขร.) ติดตามสถานการณ์จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งขอความร่วมมือผู้ให้บริการระบบรถไฟฟ้า. กรมการขนส่งทางราง. https://www.drt.go.th/public-relations/กรมการขนส่งทางราง-ขร-ติ

กรมควบคุมโรค. (2568). สรุปการตรวจสอบข่าวการระบาดของโรค/ภัยสุขภาพใน รอบสัปดาห์ที่ 13 (24–30 มีนาคม 2568). รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ประจำสัปดาห์, 56(4), e5566-e5566. https://he05.tci-thaijo.org/index.php/WESR/article/view/5566/5120

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2566, พฤศจิกายน 2). ข้อปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหว. https://relation.disaster.go.th/PRDPM/cms/6284?id=95920

กรมทรัพยากรธรณี. (2568). ข้อปฏิบัติเพื่อให้ปลอดภัยจากภัยแผ่นดินไหว. https://www.dmr.go.th/ข้อปฏิบัติเพื่อให้ปลอดภัยจากภัยแผ่นดินไหว/

กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว. (2568). เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศและใกล้เคียงล่าสุด. https://earthquake.tmd.go.th

ชยานนท์ หรรษภิญโญ. (2558). ถอดบทเรียนแผ่นดินไหว จ.เชียงราย 5 พฤษภาคม 2557 เพื่อการเตรียมพร้อมรับมือแผ่นดินไหวในอนาคต. วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา, 26(3), 23-31. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/eit-researchjournal/article/view/87009

ฐานเศรษฐกิจ. (2568, เมษายน 12). เจาะวิกฤต “ระบบขนส่งสาธารณะไทย” รับมือภัยพิบัติแผ่นดินไหว. Thansettakij. https://www.thansettakij.com/economy/megaproject/624782

ณรงค์ ใจเที่ยง. (2568). ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับมาตรการป้องกันความปลอดภัยทางด้านสุขภาพจากสถานการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทย. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข, 11(2), 373–383. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/journal_law/article/view/279843

เดอะสแตนดาร์ด. (2568, มีนาคม 29). SMS มี แต่ส่งไม่ถึงมือ แผ่นดินไหวเขย่าระบบเตือนภัยไทย. THE STANDARD. https://thestandard.co/thailand-earthquake-alert-system-failure/

ทวิดา กมลเวชช. (2554). คู่มือการจัดการภัยพิบัติท้องถิ่น. สถาบันพระปกเกล้า.

ไทยพีบีเอส. (2568, เมษายน 1). ไทม์ไลน์แผ่นดินไหว 8.2 เมียนมา สะเทือนถึงไทย 28 มี.ค.-1 เม.ย.68. Thai PBS. https://www.thaipbs.or.th/news/content/350831

ปวริศ อนุสรณ์พานิช. (2567). แนวคิดองค์การแห่งการเรียนรู้สำหรับการประกอบสร้างบุคลากรทางการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน. วารสารวิชาการการบินการเดินทางและการบริการ, 3(2), 137–162. https://so07.tci-thaijo.org/index.php/tft/article/view/6200

พนม คลี่ฉายา. (2561). กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการเตรียมพร้อมสำหรับการจัดการภัย พิบัติแผ่นดินไหว. วารสารนิเทศศาสตร์, 36(1), 21-42. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jcomm/article/view/150938

พันธพัฒน์ บุญมา และสันต์ จันทร์สมศักดิ์. (2563). แนวทางการปฏิบัติตัวในอาคารขณะเกิดแผ่นดินไหว ในประเทศไทย. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 13(2), 1-17. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JSH/article/view/243379

เพ็ญพักตร์ อุทิศ. (2549). การเผชิญกับภัยพิบัติ : คู่มือปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภัย. แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพบูลย์ นวลนิล. (2555). แผ่นดินไหว พิบัติภัยที่คนไทยพร้อมรับมือ. สำนักพิมพ์ กรีน ปัญญาญาณ.

มนตรี รอดแก้ว. (2568). การส่งเสริมเชาวน์ปัญญาในการใช้สติดำเนินชีวิตภายใต้สถานการณ์แผ่นดินไหว. วารสารมนุษยวิชาการ, 2(2), 40–52. https://so13.tci-thaijo.org/index.php/jah/article/view/1887

มิชิโอะ ฮาชิซูเมะ, ภาสกร ปนานนท์ และธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล. (2556). แผ่นดินไหวที่ควรรู้. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราเชนทร์ พูลทรัพย์ และบุญสม วราเอกศิริ. (2560). แนวทางการจัดการตนเองของชุมชนจากผลกระทบของ ภัยพิบัติทางธรรมชาติด้านแผ่นดินไหวในจังหวัดเชียงราย. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 10(1), 82-97. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/social_crru/article/view/79764

ศุภกร ตุลย์ไตรรัตน์ และสรันยา เฮงพระพรหม. (2560). การเตรียมความพร้อมรับมือต่อเหตุการณ์แผ่นดินไหว. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 7(1), 114-120. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JPMAT/article/view/128100

สัญญา เคณาภูมิ, พรชัย เจดามาน และบุศรา นิยมเวช. (2567). แนวทางการสร้างทฤษฎีจากปรากฏการณ์วิทยาทางสังคมศาสตร์. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต, 24(1), 82-109. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/BUAJEAD/article/view/270338

สิทธิปัฐพ์ มงคลอภิบาลกุล. (2565). ความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือนในมุมมอง ของสนามบิน. สำนักพิมพ์แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.

สุดาพร ปัญญาพฤกษ์, ปรมินทร์ อริเดช, วิทยา พูลสวัสดิ์, ไอลดา มณีกาศ, เพ็ชรสวัสดิ์ กันคำ และศศิพัชร์ หาญฤทธิ์. (2566). การประเมินการใช้หลักสูตรภัยพิบัติแผ่นดินไหว สำหรับเยาวชนและประชาชน จังหวัดเชียงราย. วารสารการวิจัยกาสะลองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 17(2), 1-17. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/ksk/article/view/265792

สุภางค์ จันทวานิช. (2565). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 26). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุมน สิริมา. (2550). แผ่นดินไหว ภัยใกล้ตัว เรียนรู้เพื่ออยู่รอด. D ดี.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2568, เมษายน 3). วิธีดูแลจิตใจหลังเกิดแผ่นดินไหว.https://resourcecenter.thaihealth.or.th/content/83395-media-วิธีดูแลจิตใจหลังเกิดแผ่นดินไหว

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ. (2564). แนวทางจริยธรรมการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2). กองมาตรฐานการวิจัย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

อนันต์ บุญสนอง. (2567). ภาวะผู้นำร่วมสมัย : สไตล์หมอกระแส (พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาวิทยาลัยเกริก.

Arlikatti, S., Huang, S. K., Yu, C. H., & Hua, C. (2019). ‘Drop, cover and hold on’or ‘Triangle of life’attributes of information sources influencing earthquake protective actions. International Journal of Safety and Security Engineering, 9(3), 213-224. http://dx.doi.org/10.2495/SAFE-V9-N3-213-224

BBC. (2025, March 28). 'A lot of panic': Tourists caught up in Bangkok earthquake. BBC. https://www.bbc.com/news/videos/cly8y7y83q0o

Bolt, B.A. (1999). Earthquakes. W.H. Freeman and Company.

California Earthquake Authority. (2025). How to be Prepared for an Earthquake. Earthquakeauthority. https://www.earthquakeauthority.com/california-earthquake-risk/personal-preparedness

Civil Defence Emergency Management. (2022, October 20). Readiness: Get prepared to respond to earthquakes. Civildefence. https://www.civildefence.govt.nz/cdem-sector/consistent-messages/earthquake/readiness-get-prepared-to-respond-to-earthquakes

Coburn, A. & Spence, R. (2002). Earthquake Protection (2nd edition). Wiley.

Colaizzi, P. F. (1978). Psychological research as a phenomenologist views it. In R. S. Valle & M. King (Eds.), Existential-phenomenological alternatives for psychology (pp. 48–71). Oxford University Press.

Creswell, J. W., & Poth, C. N. (2018). Qualitative inquiry and research design: Choosing among five approaches (4th ed.). SAGE Publications, Inc.

Evans, N. (1994). Experiential learning for all. Cassell.

Heidegger, M. (1962). Being and time (J. Macquarrie & E. Robinson, Trans.). Harper & Row.

International Civil Aviation Organization. (2013). Manual of Evidence-based Training (Doc 9995 AN/497). International Civil Aviation Organization.

Kostrov, B. V., & Das, S. (1989). Principles of earthquake source mechanics (1st ed.). Cambridge University Press.

Lincoln, Y. S., & Guba, E. G. (1985). Naturalistic inquiry. SAGE Publications.

Scott, J. (1991). A matter of record: Documentary sources in social research (1st ed.). Polity.

United Nations. (2012, January 21). An Earthquake Preparedness Guide. undp. https://www.undp.org/india/publications/earthquake-preparedness-guide

Valle, R. S., & Halling, S. (Eds.). (1989). Existential-phenomenological perspectives in psychology: Exploring the breadth of human experience. Plenum Press.

van Manen, M. (1990). Researching lived experience: Human science for an action sensitive pedagogy. State University of New York Press.

เผยแพร่แล้ว

30-06-2025

How to Cite

อนุสรณ์พานิช ป. (2025). ถอดบทเรียนเหตุการณ์แผ่นดินไหวกรุงเทพมหานคร 28 มีนาคม 2568 แนวทางการรับมือในด้านการบิน การเดินทาง และการบริการในสถานการณ์ฉุกเฉิน. วารสารวิชาการการบิน การเดินทาง และการบริการ, 4(1), 83–109. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/tft/article/view/8034