การพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท) ที่สอดคล้องกับการศึกษา 4.0

Main Article Content

เอนก หมื่นคำสี
ประเวศ เวชชะ
ไพรภ รัตนชูวงศ์

บทคัดย่อ

          บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 2) ศึกษาเหตุปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพการบริหารและการจัดการการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 3) ศึกษาภาพอนาคตที่พึงประสงค์ของการบริหารและการจัดการการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) และ 4) พัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท) ที่สอดคล้องกับการศึกษา 4.0 เป็นวิจัยแบบผสมผสานวิธี ได้แก่ เชิงปริมาณใช้แบบสอบถามสุ่มแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารและครู จำนวน 95 คน ใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเชิงคุณภาพใช้แบบสัมภาษณ์สุ่มแบบเจาะจง ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการ จำนวน 8 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาและสรุป ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพการบริหารจัดการศึกษา ได้แก่ 1.1) คุณภาพผู้เรียน อยู่ในระดับดี (µ = 3.32) 1.2) บริหารและจัดการหลักสูตร อยู่ในระดับดีมาก (µ = 4.10) และ 1.3) จัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับดีมาก (µ = 4.26) 2) เหตุปัจจัยสำคัญส่งผลต่อคุณภาพ ได้แก่ 2.1) คุณภาพผู้เรียน 2.2) บริหารและจัดการหลักสูตร และ 2.3) จัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียน 3) ภาพอนาคตที่พึงประสงค์คือ 3.1) คุณภาพผู้เรียน มีความรู้ ทักษะสอดคล้องการศึกษา 4.0 3.2) กระบวนการบริหารและหลักสูตร พัฒนาครู บุคลากร และ 3.3) จัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียน ทำกิจกรรมด้วยตนเอง และ 4) พัฒนากลยุทธ์การบริหารการศึกษา ได้แก่ 4.1) เสริมสร้างประสิทธิผลผู้เรียน 4.2) เสริมสร้างความเข้าใจหลักสูตร 4.3) พัฒนาระบบบริหารจัดการเรียน และ4.4) พัฒนาบุคลากรเป็นเลิศ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ครูท่านที่ 1. (12 เมษายน 2564). อนาคตที่พึงประสงค์ของการบริหารและการจัดการการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท). (เอนก หมื่นคำสี, ผู้สัมภาษณ์)

ครูท่านที่ 2. (12 เมษายน 2564). อนาคตที่พึงประสงค์ของการบริหารและการจัดการการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท). (เอนก หมื่นคำสี, ผู้สัมภาษณ์)

ดวงใจ ไชยลังการ. (2558). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21: กรณีโรงเรียนบ้านโป่งน้ำร้อน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1. Graduate School Journal, 8(18), 107-114.

นวรัตน์ รามสูต และบัลลังก์ โรหิตเสถียร. (2564). การศึกษาไทย 4.0 ในบริบทการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี. เรียกใช้เมื่อ 16 มีนาคม 2564 จาก http://www.moe.go.th/websm/2016/aug/354.html

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย. (เล่มที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาการพิมพ์.

ปิยะมาศ ชำนาญ และคณะ. (2564). กลยุทธ์การบริหารการศึกษาหลักสูตรเรียนร่วมอาชีวศึกษา และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาภาคใต้. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(2), 441-452.

ผู้บริหาร. (12 เมษายน 2564). อนาคตที่พึงประสงค์ของการบริหารและการจัดการการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท). (เอนก หมื่นคำสี, ผู้สัมภาษณ์)

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท). (2564). ข้อมูลพื้นฐาน. เรียกใช้เมื่อ 24 มีนาคม 2564 จาก https://data.bopp-obec.info/web/index_kru.php?S

วัฒน ลาพิงค์. (2564). การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ตามศาสตร์พระราชาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท). ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: อาร์ แอนด์ ปริ้นท์.

สพฐ.ส่งเสริมเรียนต่อสายอาชีพ. (2564). อาชีวศึกษา. เรียกใช้เมื่อ 12 มีนาคม 2564 จาก https://siamrath.co.th/n/32331

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการประเมินสมรรถนะครู. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). แนวทางการจัดการศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สุจิน ใจกระจ่าง. (2553). สภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นเด็กเป็นสำคัญของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

เสาวลักษณ์ พิสิษฐ์ไพบูลย์. (2564). ขับเคลื่อนการศึกษาไทยสู่ไทยแลนด์ 4.0. เรียกใช้เมื่อ 16 มีนาคม 2564 จาก http://www.thaihealth.or.th/Content/33499%-ขับเคลื่อนการศึกษาไทยสู่%ไทยแลนด์%204.0.html

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing. (5th ed.). New York: Harper Collins.

Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic, M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Wiley & Son.

Mintzberg, H. (1994). The Rise and Fall of Strategic Planning. New York: Prentice-Hall.