การบริหารจัดการกลุ่มภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มอาชีพเขียงไม้มะขาม ชุมชนบ้านจังหูน จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

กาญจน์ พจนอารี
ปริศนา สิขิวัฒน์
จิตติมา ดำรงวัฒนะ
จรวยพร เหมรังษี
วิเชษฐ์ สินประสิทธิ์กุล
ธีรวัฒน์ ทองบุญชู
ปุญญาดา จงละเอียด
ศักดิ์ดา หารเทศ
ทิพย์วรรณ จันทรา
เสรี ปานทน
สุชาติ มสันต์
นรากร ทองแท้

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการเกิดกลุ่มอาชีพเขียงไม้มะขาม ชุมชนบ้านจังหูน จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของกลุ่มอาชีพเขียงไม้มะขาม ชุมชนบ้านจังหูน จังหวัดนครศรีธรรมราช 3) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการกลุ่มภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มอาชีพเขียงไม้มะขาม ชุมชนบ้านจังหูน จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบบเจาะจง เป็นจำนวน 7 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 3 คน และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลรอง จำนวน 4 คน เป็นวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเอกสาร ผลการวิจัย พบว่า 1) พัฒนาการเกิดกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม พบว่า มี 4 ขั้นตอน คือ 1.1) ขั้นก่อตัวของกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม 1.2) ขั้นตอนการรวมตัวกันของกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม 1.3) ขั้นการผลิตสินค้าภายในกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม และ 1.4) ด้านขั้นตอนการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม 2) สภาพปัญหาของกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม ดังนี้ 2.1) ปัญหาการผลิตกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม 2.2) ปัญหาบรรจุภัณฑ์กลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม 2.3) ปัญหาด้านการตลาดของกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม และ 2.4) ปัญหาด้านการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม และ 3) การบริหารจัดการกลุ่มภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า 3.1) ความพอประมาณของกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม 3.2) ความมีเหตุผลของกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม 3.3) การมีภูมิคุ้มกันของกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม และ 3.4) การมีความรู้ของกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม 3.5) การมีคุณธรรมของกลุ่มอาชีพดานเฉียงไม้มะขาม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

นางมาลี พงษ์พรรก. (1 ตุลาคม 2565). การกลุ่มภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มอาชีพเขียงไม้มะขาม ชุมชนบ้านจังหูน จังหวัดนครศรีธรรมราช . (กาญจน์ พจนอารี, ผู้สัมภาษณ์)

นางราตรี คล้ายทองคำ. (1 ตุลาคม 2565). การกลุ่มภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มอาชีพเขียงไม้มะขาม ชุมชนบ้านจังหูน จังหวัดนครศรีธรรมราช. (กาญจน์ พจนอารี, ผู้สัมภาษณ์)

นายภาคภูมิ ติณพรรณ. (1 ตุลาคม 2565). การกลุ่มภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มอาชีพเขียงไม้มะขาม ชุมชนบ้านจังหูน จังหวัดนครศรีธรรมราช . (กาญจน์ พจนอารี, ผู้สัมภาษณ์)

บัณฑร อ่อนดํา. (2533). ยุทธศาสตร์การพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ประทีป วีรพัฒนนิรันดร์. (2540). เศรษฐกิจชุมชน: ทางรอดที่ยั่งยืนของชาติ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปาริชาติ วลัยเสถียร. (2541). เอกสารประกอบการศึกษาวิชา สค. 651 ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พัฒน์ บุณยรัตพันธุ์. (2547). การสร้างพลังชุมชนโดยขบวนการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

มยุรา ปะลาวัน. (2550). การดำรงอยู่ของกลุ่มอาชีพในชุมชนผู้ประสบภัยคลื่นยักษ์สึนามิ: กรณีศึกษากลุ่มเครื่องแกงตำมือบ้านเกาะมุกด์ ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง. ใน รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

สมพงษ์ เฟื่องอารมณ์. (2550). บรรจุภัณฑ์กับการส่งออก. กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักส์.

สมยศ นาวีการ. (2538). การบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ดอกหญ้า.

สิริอร วิชชาวุธ. (2544). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: อ.

สุพัสรา บุญช่วย. (1 ตุลาคม 2565). การกลุ่มภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มอาชีพเขียงไม้มะขาม ชุมชนบ้านจังหูน จังหวัดนครศรีธรรมราช. (กาญจน์ พจนอารี, ผู้สัมภาษณ์)

อรทิพย์ เรืองกุล. (2547). กลยุทธ์การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในเขตเทศบาลเมืองกําแพงเพชร. ใน รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.