นวัตกรรมการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
คำสำคัญ:
นวัตกรรม, การบริหารการศึกษา, การพัฒนาอย่างยั่งยืนบทคัดย่อ
นวัตกรรม เป็นการนำวิธีการใหม่มาปฏิบัติหลังจากผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นกระบวนการแล้ว โดยมีขั้นตอนตามลำดับ คือ การคิดค้น การพัฒนา และนำไปปฏิบัติจริง เช่นเดียวกับนวัตกรรมการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่เป็นการนำวิธีการใหม่มาปรับปรุง ประยุกต์ตามกระบวนการ วิธีการ ขั้นตอนให้สอดคล้องกับสภาพบริบทขององค์กร ตรงตามเป้าหมายในการพัฒนา และต่อยอดการทำงานอย่างเป็นระบบ รวมถึงความจำเป็นอย่างยิ่งยวดในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในทุกส่วนของการบริหารในยุคดิจิทัลที่จะส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการทำงาน โดยหลักการในการประยุกต์ใช้นวัตกรรมการบริหารการศึกษานั้นจำเป็นต้องควบคู่ไปกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่สามารถเชื่อมโยงและเกี่ยวเนื่องกับองค์กรและหน่วยงาน ทั้งภายใน และภายนอกสถานศึกษา ซึ่งส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคลากรภายในสถานศึกษา ผู้รับบริการจากสถานศึกษา อาทิ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และยังผลสู่สังคม ส่งผลต่อประชากรภายในประเทศให้มีมาตรฐาน และมีความสุขในการดำรงชีวิตการพัฒนาที่ยั่งยืน
References
Chamchoy, S. (2013). Concept of innovation for school management in the 21st century. Journal Of Education Naresuan University, 14(2), 117–128.
Keesukphan, A. (2016). School Management in Digital Era. Retrieved from https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/52232/-edu-teaartedu-teaart-teaartdir [2022, 16 Feb.]
Masjarus, T. & Mangbuwan, W. (2012). Educational Innovation : the Development of Books to Enhance Early Childhood Development. (3rd ed.). Bangkok: Tharn Aksorn Publisher.
Matchimaphiro, V. (2014). The role of educational innovation in learning. Ratchaphruek Journal, 12(2), 1-9.
Ngaorangsi, K. (2016). Education for sustainable development. Journal of the Association of Researchers, 21(2), 13-18.
Phucharoen, W. (2007). A Sustainable and Sufficiency Administration Innovation. Bangkok: Ariya-Chom Publisher.
Viphoouparakhot, V. (2016). Guidelines for creative school management of basic education school administrators in the 4.0 Era. KKU Research Journal of Humanities and Social Sciences (Graduate Studies), 9(1), 60-69
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารราชภัฏพระนครวิชาการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Each publish articles were copyright by Phranakorn Rajabhat University
Any contents which appeared in each articles in the journal were authors personal opinion. It did not relate to Phranakorn Rajabhat University and other instructors in the university. Each authors would take responsibility on their articles. If there are any mistake, the authors will take responsibility themselves