ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงยุควิถีชีวิตใหม่ของผู้บริหารสถานศึกษา
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง, ยุควิถีชีวิตใหม่, ผู้บริหารสถานศึกษาบทคัดย่อ
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงยุควิถีชีวิตใหม่ของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นความสามารถที่ผู้บริหารต้องมีทักษะตลอดถึง ภาระหน้าที่ในการบริหารจัดการสถานศึกษาให้ผ่านพ้นวิกฤติการณ์ที่เกิดขึ้นโดยวิถีชีวิตใหม่เป็นการเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการสถานศึกษาของผู้บริหารให้เหมาะสมกับสภาพสังคมและภาวะวิกฤติการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจึงต้องอาศัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิภาพด้วยการสร้างแรงบันดาลใจ การให้ความสำคัญรายบุคคล การกระตุ้นทางปัญญา และการบริหารจัดการเทคโนโลยี
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
Thanathip it. (มปป.). การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม2564 จากhttps://sites.google.com /site/thanathipit10/kar-brihar-cadkar-thekhnoloyi-sarsnthes
ไทยรัฐออนไลน์.(2563). New Normal คืออะไร? วิถีชีวิตใหม่ในสังคมเปลี่ยนแปลงไป
แค่ไหน. สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2564 จาก
https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/1859731
Anonymous. (2556). นวัตกรรมการศึกษาและเทคโนโลยีทางการศึกษา. สืบค้นเมื่อ
พฤษภาคม2564 จาก
http://manmanza.blogspot.com/2013_06_01_archive.html
นิตย์ สัมมาพันธ์. (2546). ภาวะผู้นำ : พลังขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ :บริษัท อินโนกราฟฟิกส์ จำกัด.
รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2551). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2544). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง .วารสารสังคมศาสตร์, 28(1),
-48.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). แนวทางการกระจายอำนาจการ
บริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาตามกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2550). ภาวะความเป็นผู้นำ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
สุภาพร รอดถนอม.(2542). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้อำนวยการวิทยาลัยพยาบาล กับประสิทธิผลองค์การ ตามการรับรู้ของอาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bass, Bernard M. & Riggio, Ronald E. (2006). Transformational Leadership (2nd ed). New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
Covey, Stephen R. (2004). The 8th Habit: From Effectiveness to Greatness. New York: Simon & Schuster.
Harvey, S., Royal, M., & Stout, D. (2003). In Structure’s Transformational Leadership: University Students Attitudes and Rating. Journal of Psychology.
Mushinsky, Paul M. (1997). Psychology applied to work an introductions to industrial and organizational psychology. California: Brooks/Cole.
Oke, Adegoke., Munshi, Natasha. & Walumbwa, Fred O. (2009). The Influence of Leadership on Innovation Processes and Activities. Organizational Dynamics, 38(1), 64-72.
Schultz, D. P. and Schultz. (1998). E. S. Psychology and work Today: An Introduction to Industrial Organization. (7th ed.). New Jersey: Prentice – Hall Inc.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2022 วารสารพุทธอาเซียนศึกษา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.