การจัดการการศึกษาทางเลือกในชุมชนพื้นที่ห่างไกลเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ไร้รอยต่อสำหรับผู้เรียนนอกระบบการศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาอุปสรรคในการศึกษาในระบบโรงเรียนของผู้เรียนนอกระบบการศึกษา และ 2) เสนอแนวทางการจัดการการศึกษาทางเลือกในพื้นที่ชุมชนห่างไกลเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ไร้รอยต่อสำหรับผู้เรียนนอกระบบการศึกษา กลุ่มเป้าหมายงานวิจัย คือ วารสารทั้งในระบบออนไลน์และออฟไลน์ที่ได้จากการคัดเลือกให้เป็นเอกสารชั้นต้นและชั้นรองด้วยการสืบค้นด้วยคำสำคัญ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบวิเคราะห์เอกสาร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการตีความเชิงวิเคราะห์ เปรียบเทียบและสังเคราะห์ใจความสำคัญของเนื้อหางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผลการวิจัย พบว่า อุปสรรคในการศึกษาในระบบโรงเรียนของผู้เรียนนอกระบบการศึกษา คือ ปัญหาด้านครอบครัวที่มีต้นทุนทางสังคมน้อยและส่วนใหญ่เกิดจากการมีรายได้ต่ำ และ แนวทางการจัดการการศึกษาทางเลือกในพื้นที่ชุมชนห่างไกลเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ไร้รอยต่อสำหรับผู้เรียนนอกระบบการศึกษาควรใช้นวัตกรรมหน่วยการเรียนเคลื่อนที่ด้วยการการเรียนชุมชนเป็นฐาน โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับลักษณะภูมิวัฒนธรรมของผู้เรียน โดยการกำหนดเนื้อหาการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับประสบการณ์ของผู้เรียน
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Department of Learning Encouragement. (2015). แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์การเรียนรู้เคลื่อนที่ (รถห้องสมุด) [Operational guidelines Mobile learning center (library car)]. Bangkok: Get The Future Company Limited.
Equitable Education Fund. (2022, October 22). เด็กและเยาวชนไทยกว่า 1.02 ล้านคนที่อยู่นอกระบบการศึกษา จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะสำหรับชีวิตและอาชีพ ในการประชุมนานาชาติเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ครั้งที่ 3 กสศ. เน้นย้ำถึงความสำคัญของการสร้างระบบการศึกษาที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับความต้องการแรงงานในอนาคตมากขึ้น [More than 1.02 million Thai children and youth are outside the education system. Need to develop skills for life and career At the 3rd International Conference for Educational Equality, the EEF emphasized the importance of creating an education system that is more flexible and consistent with future workforce needs]. Retrieved December 2, 2024 Form https://www.eef.or.th/news-221024/
Homsombat, P., Tabaselo, P.S., Fangkham, B., Sornsakdaand, S. and Panyaphalo, P.P. (2022). สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของผู้สอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21 [Learning management competencies of social studies teachers in the 21 century]. Journal of MCU Ubon Review, 7(3). 457-472. Retrieve from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/260825
Krull, G.E. (2017). Supporting Seamless Learning: Students’ Use of Multiple Devices in Open and Distance Learning Universities [Doctoral dissertation]. Universitat Oberta de Catalunya.
Mangkang, C., et al. (2021). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นแบบวิธีการเชิงพื้นที่ เรื่อง ประวัติศาสตร์นครหริภุญไชยเพื่อส่งเสริมสำนึกประวัติศาสตร์ความสุขของนักเรียนในพื้นที่นครหริภุญไชย จังหวัดลำพูน [Area-Based Approach to Local Curriculum Development on the History of Hariphunchai to Promote Happiness History Consciousness among Students in Hariphunchai Area, Lamphun Province]. Lamphun Provincial Administrative Organization and Faculty of Education Chiang Mai University.
National Center for Education Statistics. (2023, May). Status Dropout Rates. Condition of Education. U.S. Department of Education, Institute of Education Sciences. Retrieve from https://nces.ed.gov/programs/coe/indicator/coj.
National Education Association (2010). Preparing 21st Century Students for a Global Society: An Educator’s Guide to the “Four Cs”. Retrieved March 5, 2024 Form http://www.nea.org/assets/docs/A-Guide-to-Four-Cs.pdf
Sanook. (2017, July 7). รู้จัก “myME” โรงเรียนเคลื่อนที่สำหรับเด็กยากจนในเมียนมา [Get to know “myME,” a mobile school for poor children in Myanmar]. Retrieved March 10, 2024 Form https://www.sanook.com/campus/1385673/
Somja, S and Wichaakkharawit, C. (2024). แนวทางการบริหารสถานศึกษาบนพื้นที่สูงที่มีนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ ในยุคดิจิทัลของกลุ่มเครือข่ายพัฒนศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 จังหวัดเชียงใหม่ [Administering guidelines for highland school with ethnic students in the digital era of the Development Education Network Under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 6], Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Campus, 8(2), 136–149. Retrieve from https://ojs.mcupr.ac.th/index.php/jgrp/article/view/166
Sorntha, J. and Wannasri, J. (2024). รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะที่จำเป็นของนักเรียน ในสถานศึกษาบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร [An Educational Management Model to Promote Necessary Skills of Students in Highland Schools in Remote Areas]. Journal of MCU Peace Studies. 12(1). 12(1). 210-221. Retrieve from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/268041
Suksomboon, P. (2014). สภาพปัญหาและการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กบนพื้นที่สูงที่มีความขาดแคลน: กรณ์ศึกษาโรงเรียนบ้านอุมโละเหนือ อำเภอสบเมน จังหวัดแม่ฮ่องสอน [Problems and development of a small school with shortage of resources in hand land area: a study of Ban Umlo Nuea School, Sop Moei District, Mae Hong Son Province]. Community and Social Development Journal, 15(1), 27–36. Retrieve from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/cmruresearch/article/view/96162
Suwannasuan, W., Chaiyakit, M., Markshoe, P., Thamrongsotthisakul, W, (2013). รูปแบบการจัดการศึกษาทางเลือกสําหรับเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา ในเขตพื้นที่สูงภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย [A model of Alternative Education for Disadvantaged Children on Highlands in the Upper North of Thailand]. Journal of Education Naresuan University. 15(5). 182-192. Retrieve from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/16382
Thairath. (2024, January 8). “ครูอาสาบนดอยสูง” สัมผัสความหมายชีวิต เติมฝันในแก้วแคบ [“Volunteer teachers on high mountains” experience the meaning of life, Fulfill your dream of rain in narrow glass]. Retrieved March 3, 2024 Form https://www.thairath.co.th/scoop/interview/2753509?gallery_id=5
Thappan, N. (2021, May 26). นวัตกรรม “ห้องเรียนเคลื่อนที่” การจัดการเรียนรู้ในพื้นที่ห่างไกล เมื่อออนไลน์ไปไม่ถึง [Innovative “mobile classroom” learning management in remote areas When you can't get online]. THE POTENTIAL. Retrieved March 24, 2024 Form https://thepotential.org/social-issues/how-to-learn-offline/
THE STANDARD. (2023, June 20). เปิดข้อมูลสาเหตุเด็กหลุดจากระบบการศึกษา เสียงเงียบที่ต้องฟัง หวังรัฐบาลใหม่ผลัดดันเป็นวาระเร่งด่วน [Revealing information on the reasons why children drop out of the education system A quiet voice that must be heard Hopefully the new government will turn this into an urgent agenda]. Retrieved February 16, 2024 Form https://thestandard.co/education-children-abandoned-data/
Thumthong, B. (2022). ผลกระทบจากสถานการณ์โควิดที่มีต่อการจัดการศึกษาไทย: การศึกษาทางเลือกคือทางหลักและทางรอดในการจัดระบบการศึกษาในอนาคต [Effects of the COVID Situation on Thai Education Management: Alternative Education is the Main Way and the Way to Survive Education in the Future]. Journal of Education, Prince of Songkla University, Pattani Campus, 33(3), 15-29. Retrieve from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edupsu/article/view/250873
Wong, L. H., & Looi, C. K. (2011). What seams do we remove in mobile-assisted seamless learning? A critical review of the literature. Computers & Education, 57(4), 2364-2381. Doi: https://doi.org/10.1016/j.compedu.2011.06.007
Yuenwong, K. (2021). นโยบายและกระบวนการขับเคลื่อนมาตรการป้องกันเด็กเยาวชนหลุดออกจากระบบการศึกษา หลังการเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19: ศึกษาเฉพาะกรณี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) [Policies and processes motivating student retention measures after the COVID-19 pandemic: an Office of the Basic Education Commission case study]. Thammasat university.