การพัฒนาชุมชนเข้มแข็งเชิงพุทธบูรณาการ

การพัฒนาชุมชนเข้มแข็งเชิงพุทธบูรณาการ

ผู้แต่ง

  • พระมหาไชยา ถาวรสทฺโท มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระครูพิศาลสารบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สมเดช นามเกตุ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

หลักธรรม, การพัฒนา, ชุมชนเข้มแข็ง, พุทธบูรณาการ

บทคัดย่อ

บทความนี้ผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งเชิงพุทธบูรณาการ โดยการศึกษาหลักธรรม คือ ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ 4, และอิทธิบาท 4,สัปปุริสธรรม 7 เป็นหลักธรรมที่นำไปสู่การพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายที่ได้วางไว้โดยการกำหนดเป้าหมายของสังคมว่าจะเน้นอะไร และสุดท้ายสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นภายในชุมชน  โดยมีหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนามาบูรณาการเพื่อพัฒนาชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านต่าง ๆคือ1)การพัฒนาตน 2)การพัฒนาคนในชุมชน 3)การพัฒนางาน 4)การพัฒนาทรัพย์สิน 5)การพัฒนาด้านเวลา และเพื่อให้ชุมชนเกิดกระบวนการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง การพัฒนาชุมชนเข้มแข็งเชิงพุทธบูรณาการจะทำให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทั้งทางโลกและทางธรรม คู่ขนานกันไป เพื่อพัฒนาชุมชนในสังคมไทยให้เข้มแข็ง เป็นไปอย่างมีกระบวนการและเกิดความยั่งยืนต่อไป

References

กรมการพัฒนาชุมชน, (2526). คู่มือการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนสำหรับนักพัฒนากร, กรุงเทพมหานคร: กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย.

ชนาธิป พรกุล. (2561). กระบวนการสร้างความรู้ของครู กรณีการสอนบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทนงศักดิ์ คุ้มไข่น้ำ, (2534). การพัฒนาชุมชนเชิงปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์.

ประดิษฐ์ มัฌชิมา. (2522). สังคมวิทยาชนบท. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2538). พจนานุกรมพุทธศาสน์ : ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2553). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 17). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิธรรมทานกุศาลจิต.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), (2542). พุทธธรรม, (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), (2534). คุณธรรมสำหรับนักบริหาร. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม,

ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม. (2541). แผนแม่บทเพื่อการฟื้นฟูชาติ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข. 2556. ทักษะ 5 C เพื่อการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนอิงมาตรฐาน. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พัฒน์ สุจำนงค์, (2525). การพัฒนาชุมชนแบบผสมผสานสำหรับประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช,

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สนธยา พลศรี, 2545. ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน, (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร:โอเดียนสโตร์.

เสรี พงศ์พิศ. (2548). เครือข่ายยุทธวิธีเพื่อประชาคมเข้มข้น ชุมชนเข้มแข็ง. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เจริญวิทยาการพิมพ์.

อานันท์ กาญจนพันธุ์, (2544). วิธีคิดเชิงซ้อนในการวิจัยชุมชน พลวัตและศักยภาพของชุมชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31