ศาสตร์พระราชากับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดหนองคาย

ผู้แต่ง

  • ศิราณี ขำคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระครูพิศาลสารบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สมเดช นามเกตุ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

บทคัดย่อ

บทความนี้ผู้เขียนได้ศึกษาประเด็นศาสตร์พระราชากับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดหนองคาย

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็นการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นให้นักท่องเที่ยวได้เห็นถึงศิลปะวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่มีเอกลักษณ์ของแต่ละชุมชน ซึ่งแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนั้นจะเป็นการนำเสนอสถานที่สำคัญๆทางประวัติศาสตร์และขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของพื้นถิ่น รวมถึงสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าที่สะท้อนให้เห็นถึงสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนในแต่ละยุคสมัยได้เป็นอย่างดี

การมีส่านร่วมของชุมชนในการบริหาร การเร่งพัฒนา บูรณะ ฟื้นฟูมรดกให้อยู่ในสภาพเดิมอย่างต่อเนื่อง การเพิ่มความหลากหลายของการท่องเที่ยว การเพิ่มมาตรการอำนวยความสะดวก ความปลอดภัยและป้องกันการเอาเปรียบนักท่องเที่ยว การเร่งฟื้นฟูความร่วมมือกับท้องถิ่นอื่นๆ ใช้การสื่อสาร 2 ทางซึ่งเป็นการสื่อสารทั้งทางไปและกลับถ้าสามารถทำทั้งสองประการได้สำเร็จเรื่อง “การพัฒนา”จะลงเอยได้อย่างดีเพราะเมื่อต่างฝ่ายต่างเข้าใจกัน ต่างฝ่ายอยากจะเข้าถึงกันแล้ว การพัฒนาจะเป็นการตกลงร่วมกันทั้งสองฝ่ายทั้งผู้ให้และผู้รับ นี่คือหลักศาสตร์พระราชาของในหลวงรัชกาลที่ 9

จังหวัดหนองคาย มีการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดหนองคาย โดยได้ทำเป็นเส้นทางท่องเที่ยว “เส้นทางความเชื่อ ความศรัทธาแห่งลุ่มน้ำโขง จังหวัดหนองคาย” เพื่อเป็นการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดหนองคาย  และเป็นกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยวภายในจังหวัด และเป็นการสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้ให้กับชุมชน อีกด้วย

References

การทองเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2538). โครงการศึกษาการทองเที่ยวเพื่อรักษาระบบนิเวศ กรณีภาคใต. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจัยปาไม้คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

แกว ชิดตะขบ. (2550). พุทธธรรมเพื่อสงเสริมเศรษฐกิจ. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพพระพุทธศาสนาแหงชาติ.

โกวิทย์ พวงงาม. (2545). การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.พ.

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย.(2550). แนวทางการเสริมสร้างความพร้อมในการจัด

การศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย.

ชนัญ วงษ์วิภาค และคณะ. (2547). การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จิตติ มงคลชัยอรัญญา.(2540). การศึกษาชุมชนการศึกษาชุมชนเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชยันต์ วรรธนะภูติ. (2536).การกำหนดกรอบคิดในการวิจัย คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่องานพัฒนา.ขอนแก่น : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ฉลองศรี พิมลสมพงษ์. (2542). การวางแผนและพัฒนาการตลาดท่องเที่ยว.กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ทวีป ศิริรัศมี. (2544). การวางแผนพัฒนาและประเมินโครงการ. นครปฐม: โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: เพรส แอนด์ ดีไซน์.

ประเวศ วะสี. (2542).เศรษฐกิจพอเพียงและประชาสังคม แนวทางพลิกฟนเศรษฐกิจสังคม.กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบาน.

ปาริชาติวลัยเสถียร์และคณะ. (2543). กระบวนการและเทคนิคการทางานของนักพัฒนา.กรุงเทพมหานคร: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพระพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.(พิมพ์ครั้งที่ 12).กรุงเทพมหานคร: กรมศาสนา.

พระครูวินัยธรจักรี ศรีจารุเมธีญาณ และคณะ. (2559). บทบาทพระสงฆ์ไทยในสังคมยุคโลกาภิวัตน์. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 4(1), 275-287.

พจนา สวนศรี. (2546).คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน.กรุงเทพมหานคร: โครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและ ธรรมชาติ.

ภูสวัสดิ์ สุขเลี้ยง. (2545). การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม: กรณีศีึกษาหมู่บ้านห้วยโป่งผาลาดอำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจดัการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2526). หลักการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาชนบท.กรุงเทพมหานคร :สำนักพิมพ์อนุเคราะห์ไทย.

Cohen, E and Avieli, N. (2004). Food in tourism. Attraction and Impediment. Annals of Tourism Research Vol. 31 (4) Oct 2004,755-778.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31