สถานศึกษาเอกชนยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
สถานศึกษา, ยุคดิจิทัล, โรงเรียนเอกชนบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับสถานศึกษาเอกชนยุคดิจิทัล ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสถานศึกษายุคดิจิทัลของโรงเรียนเอกชนเพื่อเป็นการบริหารทางการศึกษาที่มีการเปลี่ยนแปลง และการบริหารเทคโนโลยีสำหรับโรงเรียนเอกชนไปพร้อมกัน ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงที่ไม่สามารถหยุดยั้งได้รวมทั้งมีการนิเทศ ติดตาม ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายที่ครอบคลุมภารกิจของโรงเรียนเอกชน การยอมรับเทคโนโลยีนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งการเข้าถึงเทคโนโลยี โดยทำการศึกษาสถานศึกษายุคดิจิทัล ดิจิทัลเทคโนโลยีกับการบริหารสถานศึกษาเอกชน ซึ่งผู้เขียนบทความวิชาการได้สังเคราะห์จากแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ผลงานวิชาการของนักการศึกษา นักวิชาการมาพิจารณาความสำคัญ เพื่อนำผลการสังเคราะห์มาพัฒนาคุณภาพของการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องความต้องการของผู้เรียนในยุคดิจิทัล
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาเอกชนในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
ธิดา แซ่ชั้น และทัศนีย์ หมอสอน. (2559). การรู้ดิจิทัล: นิยามองค์ประกอบและสถานการณ์ในปัจจุบัน.วารสารสารสนเทศศาสตร์, 34(4),116-145.
วันเพ็ญ ผลิศร. (2561). ระบบคลาวด์เลิร์นนิงแบบอัจฉริยะเพื่อพัฒนาการรู้ดิจิทัล และทักษะ การเรียนรู้แบบร่วมมือกัน. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สิริวัจนา แก้วผนึก. (2560). รูปแบบการพัฒนามรดกดิจิทัลด้วยกระบวนการเล่าเรื่องดิจิทัลแบบสืบสอบอย่างมีวิจารณญาณ บนเว็บ 3.0 เพื่อส่งเสริมการรู้ดิจิทัลของนิสิตนักศึกษาสารสนเทศศาสตร์ปริญญาบัณฑิต. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2562). การศึกษาภควันตภาพเรียนได้ทุกหนทุกแห่งและทุกเวลา. แพร่: แพร่ไทยอุตสาหการพิมพ์.
เอกราช โฆษิตพิมานเวช. (2560). เทคโนโลยีสารสนเทศของโรงเรียนเอกชนในยุคไทยแลนด์ 4.0. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
American Library Association. (2013). The State of America’s Libraries. Retrieved from: http://www.ala.org/news/sites/ala.org.news/files/content/2013-State- of AmericasLibraries-Report.pdf
Bawden, D. (2008). Origins and concepts of digital literacy. In I. C. L. M. Knobel (Ed.),
Digital Literacies: Concepts, policies and practices. (pp. 17-32). New York: Peter Lang.
Digital Citizenship Institute. (2019). DQ Global Standards Report. Retrieved from: https://www.dqinstitute.org/wp-content/uploads/2019/03/ DQGlobalStandardsReport2019.pdf
Eshet, Y. (2012). Digital Literacy: A New Terminology Framework and Its Application to the Design of Meaningful technology-Based Learning Environments. Retrieved from: http://files.eric.ed.gov/fulltext/ED477005.pdf.
Gilster, P. (1997). Digital Literacy. New York: Wiley.
Hague, C., & Payton, S. (2010). Digital Literacy Professional Development Resource. Retrieved from: https://www.nfer.ac.uk/publications/FUTL07/FUTL07.pdf.
Hobbs, R. (2011). Digital and Media Literacy Connecting Culture and Classroom.
Thousand Oaks, CA: Sage.
Hoechsmann, M., & DeWaard, H. (2015). Mapping Digital Literacy Policy and Practice in the Canadian Education Landscape. Retrieved from: http://mediasmarts.ca/sites/mediasmarts/files/publicationreport/full/mapping- digital-literacy.pdf.
Jun, F., & Pow, J. (2011). Fostering Digital Literacy through Web-Based Collaborative Inquiry Learning--A Case Study. Journal of Information technology Education, 10.
Martin, A., &Grudziecki, J. (2006). DigEuLit: Concepts and Tools for Digital Literacy Development. ITALICS: Innovations In Teaching & Learning In Information & Computer Sciences, 5(4), 246-264.
Newman, T. (2008). A review of digital literacy in 3 – 16 year olds: evidence, developmental models, and recommendations. London: UK: Timmus.
Obrien, D., & Scharber, C. (2008). Digital literacies go to school: Potholes and possibilities. Journal of Adolescent & Adult Literacy, 52(1), 66-68.
Poore, M. (2013). Using Social Media in the Classroom: A Best Practice Guide. Los Angeles: Sag.
Steele, B. (2009). Digital literacy project teaches students the rules of the online academic world. Retrieved from: http://www.news.cornell.edu/stories/2009/12/project-teaches-rules-online-academic-world
Summey, D. C. (2013). Developing Digital Literacy: A Framework for Professional Learning. London: Sage.
Tom Goodwin. (2018). Digital Darwinism: Survival of the fittest in the age of business disruption. London: kogan page limited.