การบูรณาการหลักธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา

ผู้แต่ง

  • วรกร ตรีเดช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • เอกราช โฆษิตพิมานเวช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สัมฤทธิ์ กางเพ็ง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การบูรณาการ, หลักธรรม, การบริหารงานบุคคล, ผู้บริหารสถานศึกษา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบูรณาการหลักธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่า การบูรณาการหลักธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา เพราะการบูรณาการหลักธรรมกับหลักสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา 3 สมรรถนะหลัก ได้แก่ 1) สมรรถนะด้านความรู้ 2) สมรรถนะด้านทักษะ 3) สมรรถนะด้านคุณลักษณะ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อครูและผู้บริหารสถานศึกษาในการนำไปใช้ปฏิบัติได้จริงในสถานการณ์ที่แตกต่างในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อหาแนวทางพัฒนาการสอนของครูให้มีคุณภาพ การส่งเสริมสภาพแวดล้อมการทำงานของครูและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในโรงเรียน การพัฒนาวิชาชีพครู ความเชื่อ คุณลักษณะและจิตวิญญาณความเป็นครูที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ตลอดจนตัวชี้วัดที่ส่งเสริมให้ผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะผู้นำทางวิชาการ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). แนวทางการกระจายการบริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ขจรศักดิ์ ศิริมัย. (2561). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสมรรถนะ. เรียกใช้เมื่อ พฤษภาคม 2561, จาก http://competency.rmutp.ac.th/.doc

ดวงเดือน ติยะบุตร. (2556). การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครูในอำเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนครพนม.

เทื้อน ทองแก้ว. (2556). สมรรถนะ Competency: หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

ธีระ รุญเจริญ. (2555). ความเป็นผู้บริหารมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง.

ผู้จัดการ. (2551). เปิดไตรสูตรสร้างนักบริหารใช้หลักธรรมสู่ความสำเร็จธุรกิจ. เรียกใช้เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2567. http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=70732

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพมหานคร: สหธรรมมิก.

พระมหาญาณวัฒน์ ฐิตวฑฺฒโน และ ศุขภิญญา ศรีคำไทย. (2565). วารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์. 3(1).

พิศุทธิ์ศักดิ์ กุลสาร และศันสนีย์ จะสุวรรณ์. (2564). ทักษะของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มทวาราวดี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 8(2). 240-253.

มูนีเราะห์ เจ๊ะมิง. (2559.) การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนาอิสลามสังกัด สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดยะลา. ใน สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). การปรับใช้สมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). เครื่องมือส่งเสริมการขับเคลื่อนประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา). กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

อัขราธร สังมณีโชติ. (2550). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาที่พึ่งประสงค์ของชุมชน. ในวิทยานิพนธ์ศึกษาศาตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เอกราช โฆษิตพิมานเวช (2560). รูปแบบการบริหารโรงเรียนเอกชนที่มีประสิทธิผล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. ใน วิทยานิพจน์หลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

Arnauld de Nadaillac. (2003). The definition of competencies. Accessed June 12, 2019. Available from http://competency.rmutp.ac.th.

Bell, S. (2015). Reassessing Core Leadership Competencies in Asia, August 3, 2015. Accessed 1 2 February 2020. Available fromhttp://aperiodevelopment.com/2015/08/reassessing-core-leadership-competencies-in-asia/.

Flippo, B. Edwin. (1971). Principle of Personnel Management. New York: McGraw–Hill,1971.

McClelland,C.David. (1973). Testing for Competence rather than for Intelligence.

New Jersey: American Psychologist

Reddy R. (2004). Jayaprakash, Personnel Management. India: S.B. Nangia.

Rylatt,A; & Lohan,K . (1995). Creating Training Miracles. Sydnry:Irwin.

The Wallace Foundation. (2012). The school principal as leader: Guiding schools

to better Teaching and Learning. Online. Retrieved May 3, 2019.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-30