เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธศาสนา

ผู้แต่ง

  • เพ็ญศรี ปักกะสีนัง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • อภินันท์ จันตะนี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สมเดช นามเกตุ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

บทคัดย่อ

บทวิจารณ์หนังสือ “เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ” เขียนโดย รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์

จันตะนี  พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2566 จำนวนหน้าหนังสือ 294 หน้า พิมพ์ที่สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหนังสือที่นำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ  แนวคิด หลักการและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์รวมทั้งหลักธรรมคัมภีร์ทางพุทธศาสนา อาทิ ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์และพุทธศาสนา อุปสงค์ อุปทานและพฤติกรรมผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิตและกำหนดราคาในตลาด การลงทุน การจ้างงานและรายได้ประชาชาติสถาบันการเงินและการค้าต่างประเทศ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและหลักมัชฌิมา การบริโภคด้วยปัญญาและอัตตกิลมถานุโยค การใช้หลักธรรมคัมภีร์ทางพุทธศาสนา รวมทั้งบูรณาการหลักพุทธธรรมกับความต้องการมนุษย์ ซึ่งในการแต่งท่านได้นำเสนอด้วยภาษาที่เรียบง่าย วิเคราะห์ และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ แสดงทัศนะและนำเสนอรูปแบบการหลอมรวมหลักพุทธธรรมเข้ากับหลักเศรษฐศาสตร์อย่างสร้างสรรค์ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาอ้างอิงและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

References

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2557). เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 14). นครปฐม : จ.เจริญ อินเตอร์พริ้น (ประเทศไทย).

ราชกิจจานุเบกษา. (2565). ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ. 2564. เรียกใช้เมื่อ 28 สิงหาคม 2566 จาก https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2565/E/004/T_0022.PDF.

ลิลิน จารุเธียร. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อหนังสือของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. ในการค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อภินันท์ จันตะนี. (2566). เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30

ฉบับ

บท

บทวิจารณ์หนังสือ