การบริหารการเปลี่ยนแปลงแบบพลิกผัน: ผู้บริหารสถานศึกษา

ผู้แต่ง

  • ภารดี อนันต์นาวี มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

คำสำคัญ:

การบริหาร, การเปลี่ยนแปลงแบบผลิกผัน, ผู้บริหารสถานศึกษา

บทคัดย่อ

การบริหารสถานศึกษาในปัจจุบันกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่คาดไม่ถึง เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบพลิกผัน มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รุนแรง ต่อเนื่อง สาเหตุมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศ สภาพแวดล้อม โลกร้อน เอลมิโญ่ การสู้รบ ภัยธรรมชาติ โรคโควิด 19 ทำให้เศรษฐกิจถดถอย สังคมเสื่อมโทรม เกิดภาวะซึมเศร้า ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นอย่างยิ่งต้องมีการปรับกระบวนทัศน์ในการบริหาร โดยการเปลี่ยนการบริหารอย่างมีกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ สร้างองค์ความรู้ใหม่ การบริหารจัดการที่มีกระบวนทัศน์ใหม่ การสร้างนวัตกรรมการบริหาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ ๆ มีความแตกต่างในการบริหารที่ทันสมัย ต้องมีภาวะผู้นำที่มีการสร้างมิตรภาพที่เข้มแข็งและยั่งยืน โครงสร้างการบริหารงานที่ยืดหยุ่น เพื่อพัฒนาองค์การให้สามารถปรับตัวให้ดำรงอยู่ในบริบทและความท้าทายของโลกาภิวัตน์ มองโลกที่เปลี่ยนไปโดยกระบวนทัศน์นั้นต้องสอดคล้องกับสภาวการณ์ สามารถแก้ปัญหาหรือนำทางสู่การพัฒนาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น

References

กฤติภัทรกร ศิริภัทรนิธิโภคิน. (2564). การใช้เทคโนโลยีในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาในยุควิถีใหม่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

จิติมา วรรณศรี (2564). การบริหารจัดการศึกษายุคดิจิทัล. พิษณุโลก: โรงพิมพ์รัตนสุวรรณการพิมพ์ 3.

จิราภรณ์ เกษวิริยการณ์. (2556). แนวทางพัฒนาการสร้างวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 2. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร.

ฐานิตา ภูวนาถนรานุบาล (2564) โครงการวิจัย เรื่อง นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของครู เพื่อเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันในระดับ. สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนนทบุรี สำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. ใน รายงานการวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.).

ถวิล อรัญเวศ. (2560). ผู้บริหารกับการครองตน ครองคน และครองงาน : สุดยอดนักบริหาร. นครราชสีมา: สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4.

นิลวรรณ วัฒนา และ มัทนา วังถนอมศักดิ์. (2566). กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารการศึกษาแห่งอนาคต. วารสารบริหารการศึกษา มศว, 20(39), 35-48.

ปัญญากร เวชชศาสตร์ ภารดี อนันต์นาวี และมนสิช สิทธิสมบูรณ์. (2565). รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์เพื่อ พัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 9(1), 231-248.

พิชญ์สินี มะโน. (2562). ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงใน ยุค digital disruption ต่อการศึกษา. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 18(1), 1-6.

พยัต วุฒิรงค์. (2563). การจัดการนวัตกรรม : ทรัพยากร องค์การแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภารดี อนันต์นาวี. (2565). ผู้บริหารสถานศึกษา: ภาวะผู้นําดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ, 11(2), 1-12.

สิทธิพร ประวัติรุ่งเรือง และภารดี อนันต์นาวี. (2567). รูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงแบบพลิกผันของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาภาคตะวันออก. วารสารร้อยแก่นสาร, 9(5), 517-534.

ยงยุทธ สงพะโยม. (2565). กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาในยุคปกติใหม่. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562). การเรียนรู้ในโลก VUCA สู่ Social Quotient. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.

ศยามน อินสะอาด. (2564). การออกแบบไมโครเลิร์นนิงยุคดิจิทัล. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 16(20), 16–31.

ศศิมา สุขสว่าง (2562). ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟิก.

สมบัติ นามบุรี. (2562). นวัตกรรมและการบริหารจัดการ. วารสารวิจัยวิชาการ, 2(2), 121-134.

สงบ อินทรมณี . (2562). การบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการ และเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 16(1), 353-360.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2562). การบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุชญา โกมลวานิช. (2562). องค์ประกอบของภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาคุณภาพการศึกษา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อัจจิมา ศุภจริยาวัตร. (2562). รูปแบบโครงสร้างองค์การ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยี และการจัดการที่ทำให้สินค้าโรงเรียนประชารัฐสามารถจัดจำหน่ายได้. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

Dixita, A., & Upadhyay, Y. (2021). Role of JD-R Model in up ticking innovative work behavior among higher education faculty. RAUSP Management Journal, 56(2), 156-169.

Nonaka, I. & Takeuchi, H. (2000). Classic work: Theory of Organizational Knowledge Creation. New York: Oxford University Press.

Plook Teacher. (2562). การส่งเสริมการศึกษาไทยเพื่อรับมือกับโลกยุค VUCA. เรียกใช้เมื่อ 21 สิงหาคม 2565 จาก https://www.trueplookpanya.com/education/content/76134

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30