การจัดการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลักสำหรับนักเรียนโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญจังหวัดขอนแก่น
คำสำคัญ:
การจัดการสอน, โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลัก, สำหรับนักเรียนโรงเรียนเอกชนบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการจัดการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลักสำหรับนักเรียนโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญจังหวัดขอนแก่น เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร 125 คนเลือกแบบเจาะจง ครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 352 คนเลือกแบบสุ่มอย่างง่าย รวม 450 คนจาก 125 โรงเรียน เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถามเป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า การจัดการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อหลักสำหรับนักเรียนโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญจังหวัดขอนแก่นมีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) ความสามารถในการแก้ไขปัญหาหาความแตกต่างระหว่างบุคคล 2) การมีประโยชน์ต่อกระบวนการเรียน 3) ด้านการอำนวยประโยชน์แก่นักเรียน 4) ด้านความเหมาะสม 5) การประเมินผลการเรียนนักเรียน 6) การประเมินความสำเร็จของการใช้ระบบ 7) โครงสร้างพื้นฐาน 8) งบประมาณ 9) ปัญหาและอุปสรรค
References
จิราภรณ์ ผันสว่าง. (2559). ความเป็นมืออาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา (Professional Education Administration: Basic Qualifications, Skills, and Vision). วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 5(2), 247-254.
วรวิทย์ บุญญาธิพิทักษ, จิราภรณ์ ผันสว่าง, พระครูชัยรัตนากร. (2565). การบริหารงานวิชาการแบบมี ส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อําเภอปทุมรัตน์ จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, 6(2), 477-491.
รำจวน เบญจศิริ. (2564). ความผูกพันในการเรียนออนไลน์ของนักการศึกษา : กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วารสารการเมือง การบริหารและกฏหมาย, 14(1), 51-71.
ณิชกานต์ แก้วจันทร์. (2564). ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนและความคาดหวังประสิทธิผลการศึกษาในระบบการเรียนการสอนออนไลน์ในทรรศนะของนักศึกษา. ในวิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจทั่วไปคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธนะวัฒน์ วรรณประภา. (2562). การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ออนไลน์กับการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสาร e-Journalof Education Studies, Burapha University 1(1), 1-10.
นิตยา มณีวงศ์. (2564). ศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยความสำเร็จการเรียนออนไลน์แอปพลิเคชั่นไลน์ในช่วง วิกฤต Covid 19 . วารสารครุศาสตร์สาร, 15(1), 161-173 .
นุชรินทร์ ทองกันทม. (2563). ผลการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่าน Application Zoom โดยใช้บทบาทสมมุติและผลประกอบที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาของนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน สอบก่อนเรียน. ในวิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพลศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันเกษม.
ประสูติ เดชสุวรรณ . (2542). การพัฒนาและผลลัพธ์การสอนเสริมส่วนปฏิบัติการแบบออนไลน์ในรายวิชา วิเคราะห์โครงข่ายไฟฟ้าเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน. วารสาร Engineering Transactions, 23(1), 74-86 .
วันเฉลิม ปิ่นแก้ว. (2564). ผลกระทบจากการเรียนออนไลน์ของนักการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
วิทัศน์ ผัดเจริญผล. (2563). ความพร้อมในการจัดการเรียนการการสอนออนไลน์ภายใต้สถานการณ์ระบาด ไวรัส Covid-19. วารสารศาสตรการศึกษาและพัฒนามนุษย์. 4(1), 41-61.
ศรัณยา สงวนวงศ์. (2564). ประสิทธิภาพของการเรียนออนไลน์ในยุคโควิด 19 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร. ใน วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุมิตร สุวรรณ.(2563). ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์. วารสารศาสตร์การศึกษา. 4(1), 44-61.
สุพจน์ อิงอาจ.(2564). การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตั้งใจอย่างต่อเนื่องต่อการเรียนในแบบฐานวิถีชีวิตใหม่ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 18(1),28-45.
เอกราช โฆษิตพิมานเวช. (2561). เทคโนโลยีสารสนเทศของโรงเรียนเอกชนในยุคไทยแลนค์ 4.1. วารสารการบริหารสถานศึกษาและภาวะผู้นำ, 6(23), 14-23.