การแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศของสถานศึกษา ในพื้นที่การนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

ผู้แต่ง

  • ไชยฉัตร โรจน์พลทามล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • สมใจ สืบเสาะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • จิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

คำสำคัญ:

ปัญหามลพิษทางอากาศ, สถานศึกษา, พื้นที่การนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

บทคัดย่อ

การแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศของสถานศึกษา คือ การแสวงหาหนทางที่มุ่งแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศที่เจาะจงไปที่โรงเรียนโดยเฉพาะ เพราะจากอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจในเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยองสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ จึงเกิดแนวคิดเมืองสุขภาวะแห่งการเรียนรู้ มุ่งแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศของสถานศึกษา ในพื้นที่การนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ด้วยวิธีการที่มีคุณภาพและเป็นไปตามหลักสากล ผ่านการจัดทำนโยบาย ออกกฎหมาย การควบคุม การติดตามและให้ความร่วมมือภาคสังคม

References

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. (2566). การแปรรูปขยะมูลฝอยไปเป็นพลังงานความร้อนโดยใช้เตาเผา (Incineration). เรียกใช้เมื่อ 21 มิถุนายน 2567 จาก https://oldwww.dede.go.th/ewt_news.php?nid=509&filename=waste_energy

กรมอนามัย. (2563). คู่มือแนวทางลดและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน สำหรับสถานศึกษา. นนทบุรี: กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ.

ชุติมา ซุ้นเจริญ. (2567). ‘PM Ranger’ เมื่อนักเรียนแปลงร่างเป็นผู้พิทักษ์สิ่งแวดล้อม: ‘ห้องเรียนสู้ฝุ่น’ โรงเรียนบ้านแม่เทย ลำพูน. เรียกใช้เมื่อ 20 มิถุนายน 2567,จาก https://thepotential. org/creative-learning/pm-ranger-maethoeischool/

ณัฐพล แก้วทอง. (2563) ระบบเตือนภัยมลพิษทางอากาศสำหรับเทศบาลนครสงขลาเมืองอัจฉริยะโครงการ. ใน รายงานผลการวิจัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.

ดามร คำไตรย์. (2551) ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม กรณีมลภาวะทางอากาศ ศึกษาในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. ใน รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

บริษัท เฮลธ์ แอนด์ เอ็นไวเทค จำกัด. (2567). 5 วิธีแก้ปัญหามลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม. เรียกใช้เมื่อ 26 มิถุนายน 2567,จาก https://healthenvi.com/how-to-solve-pollution-problems/

บริษัท ไทย เคมีคอล สโตเรจ จำกัด. (2567). ข้อดีของการใช้ “Filter Bag” ในการกำจัดฝุ่นละอองและสารมลพิษในอากาศ. เรียกใช้เมื่อ 22 มิถุนายน 2567,จาก https://thaichemicals.com/2024 /04/27/ข้อดีของการใช้-filter-bag-ในกา/

ผู้จัดการออนไลน์. (2562). โรงเรียนรุ่งอรุณ (ประถม) แจ๋วจริง! โชว์มาตรการจัดการฝุ่น PM2.5. เรีกยใช้เมื่อ 20 มิถุนายน 2567, จาก https://www.mgronline.com/greeninnovation/detail/9620000010619

ไพฑูรย์ สิงห์ไข่มุกข์. (2558). ประสิทธิผลนโยบายมลพิษอุตสาหกรรมของไทย. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10(3),317-325.

ไพสิฐ พาณิชย์กุล. (2567). นักวิชาการย้ำ หัวใจสำคัญของการมี พ.ร.บ. อากาศสะอาด ระบุประเด็นให้ชัด พุ่งเป้าไปสู่กฎหมาย อย่าเล่นเกมการเมือง. เรียกใช้เมื่อ 25 สิงหาคม 2567, จาก https://thecitizen.plus/node/94664

ภัคพงศ์ พจนารถ. (2559). สถานการณ์ของปัญหามลพิษทางอากาศที่เกิดในเมืองใหญ่ของประเทศไทย: กรณีศึกษา กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ และ ระยอง. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 12 (1/2559).

วนิดา จีนศาสตร์. (2551). มลพิษอากาศและการจัดการคุณภาพอากาศ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุดา พระเนียงทอง, สุรทิน มาลีหวล, และชาติวุฒิ จำจด. (2555). การพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากปัญหาสิ่งแวดล้อม ในเขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง. Journal of Medicine and Health Sciences, 19(2), 46–54.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2566). ขับเคลื่อนจังหวัดระยอง พื้นที่สุขภาวะ สู่การเป็นต้นแบบเมืองแห่งการเรียนรู้. เรียกใช้เมื่อ 25 สิงหาคม 2567,จาก https://www.thaihealth.or.th /?p=317055

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2562). 5 นวัตกรรมรับมือการเปลี่ยนแปลงมลภาวะทางอากาศ. เรียกใช้เมื่อ 20 มิถุนายน 2567,จาก https://www.nia.or.th/5-นวัตกรรมรับมือการเปลี่ยนแปลงมลภาวะทางอากาศ.html

ศิวพันธ์ุ ชูอินทร์. (2556). มลพิษทางอากาศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริกัลยา สุวจิตตานนท์ และคณะ. (2541). การป้องกันและควบคุมมลพิษ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

โศวิภาฎา ไชยสาร. (2562). นโยบายการจัดการมลพิษทางอากาศ กรณีฝุ่นละอองขนาด เล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร. ใน การศึกษาอิสระรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต โครงการพิเศษวิทยาเขตบางนา คณะรัฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-10-23