ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • วรินทร์ธรา ภัคอัมพาพันธ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์
  • ธานี เกสทอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์
  • วรกฤต เถื่อนช้าง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำทางวิชาการ, ยุคดิจิทัล, ผู้บริหารสถานศึกษา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาอย่างมาก ผู้บริหารสถานศึกษามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนการศึกษาให้ก้าวทันต่อ การเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่ การศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการในบริบทนี้จะช่วยให้เข้าใจถึงคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็นของผู้บริหารสถานศึกษาในการนำพาองค์กรให้บรรลุเป้าหมายทางการศึกษาในยุคดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาจึงมีความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนทัศนคติและแนวคิด การบริหารงานของตนเองให้ทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพื่อจะได้พัฒนางานวิชาการของสถานศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) ซึ่งเป็นกลไกสำคัญที่จะทำให้การจัดการศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา อันจะนำไปสู่การเรียนรู้ที่มีคุณภาพของนักเรียนต่อไป

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). คู่มือการบริหารโรงเรียนในโครงการพัฒนาการบริหารรูปแบบนิติบุคคล. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

ดวงนภา เตปา. (2562). การพัฒนานาคู่มือการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนบ้านท้าวบุญเรืองอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชเชียงใหม่.

ปกรณ์ ศรีสกุล. ภาวะผู้นำในโลกดิจิทัล. เรียกใช้เมื่อ 11 สิงหาคม 2567 จาก : https://today.line.me/th/pc/article/Leadership+in+Digital+Era.

ปนัดดา นกแก้ว. (2562). ทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 จังหวัดสมุทรปราการ. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. (2550). ภาวะผู้นํา: ความเป็นไปในสังคมไทยและวิธีการแก้ไขกรุงเทพมหานคร: หมอชาวบ้าน.

พระมหาธีรเพชร มาตพงษ์. (2561). การสังเคราะห์รูปแบบการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา. ใน ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสยาม.

พรพิพัฒน์ ตั้งจิตรวัฒนากุล. (2559). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำแบบให้บริการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

มัทนา วังถนอมศักดิ์. (2550). รูปแบบแรงจูง ใจในการปฏิบัติงาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ลือชัย ชูนาคา. (2558). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. ใน วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิตสาขาบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วิทิตา สุขทั่วญาติ. (2557). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในทศวรรษหน้าของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา. ใน วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

Flanagan, L., & Jacobsen, M. (2003),Technology leadership for the twenty-first century principal, Journal of Educational Administration, 41(2).

Glickman, C.D. (2007), Super vision and instructional leadership : A developmental approach (7th ed.). Boston: Pearson.

Kerdtip, C. (2006). Development model of education technology leadership foschool administrators under the office of basic education commission Insouthern Thailand. Doctoral Dissertation. Thailand: Songkla University.

Nak Ai, N. (2006). The factors of E-Leadership characteristics and Factors affecting E-Leadership effectiveness for basic education principals. Doctoral Dissertation. Bangkok: Srinakharinwirot University.

Polly, D. (2010). Preparing teachers to integrate technology effectively: The case of higher order thinking skills (HOTS). Chapter to appear in S.D'Augustono (Ed.).

Wannasri, J.(2010). Academic leadership of school administrators. Journal of Education. (Naresuan University, 12(1), 35-49.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-30