ทักษะที่จำเป็นของการทำงานในศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • อภิญญา บุณยเกียรติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์
  • พระมหาอุดร อุตฺตโร (มากดี) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครสวรรค์

คำสำคัญ:

ทักษะที่จำเป็น, การทำงาน, ศตวรรษที่ 21

บทคัดย่อ

ความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทางด้านเทคโนโลยี  ทำให้ความต้องการของตลาดแรงงานเปลี่ยนไป ทักษะต่างๆ ที่เป็นการทำซ้ำๆ  (Routine – Work) ไม่เพียงพออีกต่อไป เพราะคอมพิวเตอร์สามารถทำงานแทนได้ ปัจจุบันเรากำลังอยู่ในศตวรรษที่ 21 ทุกศตวรรษจะมีการเปลี่ยนแปลงและสิ่งใหม่ๆ  เกิดขึ้นอยู่เสมอ ทุกคนที่อาศัยอยู่ในโลกนี้ปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไม่ได้ แต่ทุกคนสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้นได้ การรับมือที่ดีที่สุดสำหรับการเปลี่ยนแปลงคือการปรับตัวให้ทันและไม่เกิดผลกระทบกับตนเองหรือเกิดผลกระทบน้อยที่สุด ในศตวรรษที่ 21 นี้ จะนำทุกคนไปสู่สังคมแบบใหม่คือ “สังคมความรู้” ทุกคนจะได้รับข้อมูลข่าวสารต่างๆ ในชีวิตประจำวันอย่างมากมายจากการเล่นโทรศัพท์มือถือ จากการพูดคุยกับบุคคลในแอพพลิเคชั่นสนทนา และจากแหล่งต่างๆ ทำให้มีการส่งต่อข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ อย่างรวดเร็ว  ในบทความนี้จะนำเสนอทักษะที่จำเป็นของการทำงานในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ทักษะการอ่านออกเขียนได้ (Literacy Skills) และทักษะชีวิต (Life Skills) เพื่อเตรียมพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว นอกจากนี้จะใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานแล้ว ทักษะต่างๆ  ยังเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตเพื่อไม่ให้การเปลี่ยนแปลงเกิดผลกระทบกับตัวเราหรือเกิดผลกระทบน้อยที่สุด   

References

าชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุคส์ พับลิเคชั่นส์.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2558). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน/ ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.

Praornpit Katchwattana. (2561). อยากเป็นคนคุณภาพของศตวรรษที่ 21 ต้องปรับตัวด้วย ทักษะที่จำเป็น ในศตวรรษที ่ 21 . เรียกใช้เมื่อ 6 มกราคม 2564 จาก https://www.salika.co/2018/09/ 22/skill-21st-century-howto-build/

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). คู่มือการบริหารโรงเรียนในโครงการพัฒนาการบริหารรูปแบบนิติ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

กัญญาณัฐ ปูนา. (2562). ข้อเสนอเชิงนโยบายในการบริหารจัดการการศึกษาเพื่อเสริมสร้างทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาพื้นที่พิเศษ จังหวัดเชียงราย. วารสารบัณฑิตศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

จันทร์เพ็ญ สุวรรณคร. (2558). กระบวนทัศน์การจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้าง การใช้ทักษะชีวิตและอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. ศิลปากร : นครปฐม.

ดวงนภา เตปา. (2562). การพัฒนานาคู่มือการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนบ้านท้าวบุญเรืองอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชเชียงใหม่.

ปนัดดา นกแก้ว. (2562). ทักษะชีวิตและอาชีพในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดสมุทรปราการ. ใน ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

พระมหาธีรเพชร มาตพงษ์. (2561). การสังเคราะห์รูปแบบการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา. ใน ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสยาม.

มูนา จารง. (2560). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะครูผู้สอนในศูนย์เครือข่ายตลิ่งชัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2. ใน สารนิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์. (2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 แปลจาก 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. ค้นเมื่อ มีนาคม 10, 2564, จาก http://openworlds.in.th/books/21st-century-skills/.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้ เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร : ตถาตา : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ.

วัชรสินธุ์ เพ็งบุบผา. (2564). ทักษะการประกอบอาชีพที่สำคัญในโลกยุคใหม่ที่นักเรียนไทยควรได้รับการพัฒนา : การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. ครุศาสตร์สาน,15(1).

สุปรียา ศิริพัฒนกุลขจร. (2555). การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (The 21st Century Learning). The NAS Magazine มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี.: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุไม บิลไบ. (2558). สมรรถนะ ทักษะและบทบาทครูไทยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

สัตติ บัญภิรมย์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: บริษัทบุ๊คพอยท์จำกัด.

สรเดช เลิศวัฒนาวานิช. (2560). การพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะในการประกอบอาชีพสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร : นครปฐม.

สายเพ็ญ บุญทองแก้ว. (2563). การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี : สุราษฎร์ธานี.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). การศึกษาวิเคราะห์ระบบการศึกษาไทย. เรียกใช้เมื่อ 5 สิงหาคม 2565. จาก : https//www.obec.go.th.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2759. เรียกใช้เมื่อ 5 สิงหาคม 2565. จาก : https//www.obec.go.th.

Richard A. Gorton. (1893). School Administration and Supervision: Leadership Challenges and Opportunities, 2nd ed. (Ohio: W.C.Brown Co, 1983), 158-164.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-30