ภัยยุคใหม่ของพระสงฆ์กับความท้าทายและแนวทางการปฏิบัติในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • มะลิ ทิพพ์ประจง วิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี
  • พระใบฎีกาสมคิด นาถสีโล (สุขนิล) วิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี

คำสำคัญ:

ภัย, ยุคใหม่, พระสงฆ์

บทคัดย่อ

ยุคข้อมูลข่าวสารที่ผ่านระบบดิจิทัลที่เรียกว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวัน พระสงฆ์ในฐานะผู้นำทางจิตวิญญาณและผู้เผยแผ่พระธรรมคำสอน จำเป็นต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นจากความเปลี่ยนแปลงของสังคมและเทคโนโลยี ภัยยุคใหม่ที่พระสงฆ์ต้องเผชิญในยุคดิจิทัล ในส่วนที่ได้รับผลกระทบจากตัวพระสงฆ์ผู้กระทำการเองหรือว่าให้ผู้อื่นกระทำการให้ก็ตามตลอดถึงนำเสนอแนวทางการปฏิบัติที่เหมาะสมเพื่อรับมือกับความท้าทายเหล่านี้ภัยยุคใหม่ที่พระสงฆ์ต้องเผชิญ ได้แก่ การใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างไม่เหมาะสม การถูกล่อลวงด้วยผลประโยชน์ทางโลก การเสื่อมถอยของศรัทธาในพระพุทธศาสนา การขาดความรู้ความเข้าใจในพระธรรมวินัย และการถูกคุกคามจากกลุ่มบุคคลที่ไม่หวังดี ภัยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อบทบาทและภาพลักษณ์ของพระสงฆ์ในสังคมไทย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2540). คู่มือพระสังฆาธิการว่าด้วยพระราชบัญญัติกฎระเบียบและคําสั่งของคณะสงฆ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.

ขวัญชนก อายุยืน และคณะ. (2567). ความเป็นพลเมืองดิจิทัลในประเทศไทย. Journal of Modern Learning Development, 9(5),407-415.

จํานง ทองประเสริฐ. (2534). ปรัชญาตะวันตกสมัยกลาง. (พิมพครั้งที่ 5) . กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาบรรณการ. คมกฤช.

จำนง อดิวัฒนสิทธิ์ และคณะ. (2545). สังคมวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2538). รัฐประศาสนศาสตรเปรียบเทียบ: เครื่องมือในการพัฒนาประเทศ.(พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ธัชรินทร์ วุฒิชาติ. (2561). ความสุขของพนักงาน คือรากฐานขององค์กร. กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพธุรกิจ.

พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

พงษ์ธร ธัญญสิริ. (2552). ย้อนดูอดีตเพื่อก้าวสู่อนาคตกฎหมายอาญาไทย. วารสารกระบวนการยุติธรรม, 2(2), 133-146.

พระเทพรัตนสุธี(สมศักดิ์ โชตินฺธโร). (2553). บทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ด้านการปกครองจังหวัดปทุมธานี. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระราชวัลภาจารย์ (ดาวเรือง อาจารคุโณ). (2563). ภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการในการปกครองคณะสงฆ์ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี. วารสารศิลปการจัดการ, 4(3), 760-771.

พระครูสมุห์ชินวรวัตร ถิรภทฺโท. (2565). บทบาทพระสงฆ์: ท่ามกลางวิกฤตของสังคมไทย.วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11(6),152-166.

พระชลญาณมุนี. (2565). การปรับตัวของพระสงฆ์รุ่นใหม่ในยุคของสังคมออนไลน์.วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง,11(1), 192-210.

ภัทรพร สิริกาญจน. (2540). หน้าที่ของพระสงฆ์ตามพุทธบัญญัติ: แนวคิดและบทบาทของพระคําเขียนสุวัณโณในการพัฒนาชุมชน.กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2542). การพัฒนาการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อริญญา เถลิงศรี. (2562). Disruption: ทำลายล้างหรือสร้างโอกาส. เรียกใช้เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2562 จาก https://thaipublica.org/2018/06/seac-disruption/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-04-14