คุณลักษณะเด่นทางจิตวิทยาและความงอกงามส่วนบุคคลของนักประพันธ์เพลงมืออาชีพ: การวิจัยเชิงคุณภาพ

Main Article Content

ภัทธิรา มุนินโท
รัตติญากรณ์ จันทร์เซ็ง
ศศิธร เทียบเพีย
ปณิชา พรประสิทธิ์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะเด่นทางจิตวิทยาและความงอกงามส่วนบุคคลของนักประพันธ์เพลงมืออาชีพ ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักประพันธ์เพลงมืออาชีพ จำนวน 5 คน ที่ผ่านการคัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์รายบุคคล ผลการวิจัยพบแก่นสาระหลักของประสบการณ์ 4 ประเด็น กล่าวคือ (1) ความสนใจ ความชอบ ความต้องการให้ตนเป็นที่รู้จัก เป็นจุดเริ่มต้นการแต่งเพลง (2) ประสบการณ์เมื่อก้าวสู่การเป็นนักประพันธ์เพลงมืออาชีพ (3) ความชัดเจนในอาชีพและการรับรู้ความหมายของการเป็นนักประพันธ์เพลงมืออาชีพ และ (4) การตระหนักรู้ในตนและความเข้าใจชีวิต  ผลการวิจัยนี้บ่งชี้ว่าประสบการณ์ของนักประพันธ์เพลงมืออาชีพในเรื่องความเข้าใจตัวเองและเข้าใจผู้อื่น ความปรารถนาที่จะช่วยสร้างสรรค์สังคม ซึ่งเป็นคุณลักษณะเด่นทางจิตวิทยาและความงอกงามส่วนบุคคลเหล่านี้เกิดจากการสะสมประสบการณ์การใช้ชีวิตและการได้เรียนรู้ปฏิกิริยาของผู้ฟังเพลงต่อเนื้อหาและเรื่องราวในบทเพลงที่พวกเขาได้ประพันธ์ขึ้น

Article Details

How to Cite
มุนินโท ภ., จันทร์เซ็ง ร. ., เทียบเพีย ศ. ., & พรประสิทธิ์ ป. . (2024). คุณลักษณะเด่นทางจิตวิทยาและความงอกงามส่วนบุคคลของนักประพันธ์เพลงมืออาชีพ: การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารจิตวิทยา, 21(2), 1–19. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/JPsychol/article/view/4227
บท
บทความวิจัย

References

รายการอ้างอิง

Baker, F. A., & MacDonald, R. A. (2014). Experiences of creating personally meaningful songs within a therapeutic context. Arts & Health, 6(2), 143-161.

Beech, H. F. (2015). Songwriting and transformation: The subjective experience of sharing self through song. International Journal of Transpersonal Studies, 34(1), 24.

DeDiego, A. C. (2015). The use of song lyrics as an expressive arts tool in counseling: A literature review. Ideas and Research You Can Use.

Giorgi, A. (2017). A response to the attempted critique of the scientific phenomenological method. Journal of Phenomenological Psychology, 48(1), 83–144. https://doi.org/10.1163/15691624-12341319

Glück, J., & Baltes, P. B. (2006). Using the concept of wisdom to enhance the expression of wisdom knowledge: not the philosopher's dream but differential effects of developmental preparedness. Psychology and Aging, 21(4), 679.

Kern, D. E., Wright, S. M., Carrese, J. A., Lipkin Jr, M., Simmons, J. M., Novack, D. H., ... & Frankel, R. (2001). Personal growth in medical faculty: a qualitative study. Western Journal of Medicine, 175(2), 92.

Niemiec, R. M. (2012). VIA character strengths: Research and practice (The first 10 years). In Well-being and cultures: Perspectives from positive psychology (pp. 11-29). Dordrecht: Springer Netherlands.

Park, N., Peterson, C., & Seligman, M. E. (2006). Character strengths in fifty-four nations and the fifty US states. The journal of positive psychology, 1(3), 118-129.

Patterson, L. E., & Welfel, E. R. (1994). The counseling process. Thomson Brooks/Cole Publishing Co.

Ransom, F. P., (2015). Message in the music: Do lyrics impact well-being?. Master’s thesis of Applied Positive Psychology. University of Pennsylvania. USA.

Schechner, R. (1988). Performance theory. New York, NY: Routledge.

Sena-Martinez, C. (2012). From inspiration to song: A heuristic inquiry of psycho-spiritual transformation through the creative process of songwriting. Institute of Transpersonal Psychology.

Swaminathan, S., & Schellenberg, E. G. (2015). Current emotion research in music psychology. Emotion review, 7(2), 189-197.