การรู้เท่าทันสื่อ: ทักษะที่ต้องรู้และนำไปใช้ในยุคสื่อสังคมออนไลน์
คำสำคัญ:
การรู้เท่าทันสื่อ, สื่อสังคมออนไลน์บทคัดย่อ
การรู้เท่าทันสื่อเป็นทักษะความรู้ ความสามารถในการใช้สื่อ และตระหนักถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการใช้สื่อในฐานะของผู้ใช้สื่อ และผู้ผลิตสื่อ ที่บุคคล
สามารถนำไปพัฒนาตนเองจนเกิดความชำนาญ เพื่อให้เกิดความเข้าใจสื่อ เข้าใจความหมายที่สื่อต้องการสื่อสาร และเข้าใจเทคนิคต่าง ๆ ที่สื่อใช้ในการสร้างเพื่อให้เกิดผลกระทบต่อผู้รับสื่อ และผู้ผลิตสื่อ ในยุคที่ทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้อย่างอิสระ ไร้ข้อจำกัดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ บทความนี้นำเสนอ สื่อสังคมออนไลน์ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน กระบวนการรู้เท่าทันสื่อ สิ่งที่ผู้รับสื่อ และผู้ผลิตสื่อต้องรู้เพื่อเท่าทันสื่อทักษะการรู้เท่าทันสื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับสื่อ และบริบทในสังคมที่ต้องพึ่งพาสื่อสังคมออนไลน์ในการดำรงชีวิตประจำวัน และการทำงาน โดยให้ความสำคัญกับผู้ใช้สื่อที่มีประสิทธิภาพ และพร้อมที่จะเป็นผู้ผลิตสื่อที่มีประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาสังคมภายใต้ข้อมูล ข่าวสารที่สร้างสรรค์
References
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2561). ทักษะแห่งศตวรรษใหม่ : ทักษะและความรู้ดิจิทัล [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ
เมษายน 2564, จาก: https://thaidigizen.com/digital-citizenship/ch2-digital-literacies/
ธีรพัฒน์ วงษ์คุ้มสิน. (2562). ทักษะการรู้เท่าทันสื่อ การรู้เท่าทันสื่อ และความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์, 45(2),127-161.
ปวีณา มะแซ. (2561). การพัฒนาแบบวัดทักษะการรู้เท่าทันสื่อในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบ
พหุวิภาค. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (2554). สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2564, จาก: https://dictionary.orst.go.th/.
พิชิต วิจิตรบัญยรัตน์. (2554). สื่อสังคมออนไลน์ : สื่อแห่งอนาคต [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2564, จาก: https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/
executive_journal/oct_dec_11/pdf/aw016. pdf.
ลี, อลิซ วาย แอล. (2558). การทำความเข้าใจเรื่อง การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ (MIL). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาว่าด้วยการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในยุคดิจิตอล. เมื่อ 26-27 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ, 20-27.
วราพร ดำจับ. (2562). สื่อสังคมออนไลน์กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 7(2), 143-159.
WeAreSocial. (2563). สถิติดิจิทัลของประเทศ จาก Digital Thailand ประจำปี 2563[ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2564, จาก: https://blog.ourgreenfish.
com/%E0%B8%AA%E0%B8%
แววตา เตชาทวีวรรณ. (2559). การรู้สารสนเทศสำหรับการเรียบเรียง โครงงาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ภาควิชาบรรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน. (2560). กรอบแนวคิด พลเมือง ประชาธิปไตยเท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิตอล [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2564, จาก: https://www.healthymediahub.com/media/detail/ %E0%B8% 81%E0%B8%A3
ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย. (2564). ข่าวปลอมอย่าแชร์ ผู้เสียชีวิตจากการฉีดวัคซีนโควิด-19 เกือบ 100 คน แต่รัฐบาลสั่งปิดข่าว [ออนไลน์]. สืบค้น
เมื่อ 20 พฤษภาคม 2564, จาก: https://www.antifakenewscenter. com/%e0%b8%82%e0%
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาตของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เว้นแต่จะได้รับอนุญาติเป็นอย่างอื่น