แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมเยาวชนดีเด่นทางการกีฬาและนันทนาการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
คำสำคัญ:
แนวทางการพัฒนา, เยาวชน, เยาวชนดีเด่น, การกีฬา, นันทนาการบทคัดย่อ
เยาวชนเป็นช่วงวัยที่มีความสำคัญซึ่งจะเติบโตเป็นประชากรหลักในการยกระดับการพัฒนาของประเทศ จึงควรได้รับการพัฒนาและส่งเสริมทักษะต่าง ๆ เพื่อก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ ประกอบอาชีพตามความถนัดและความสนใจ ใช้ทักษะชีวิตในศตวรรษที่ 21 ตรงกับความต้องการอันพึงประสงค์ของสถานประกอบการ มหาวิทยาลัยจึงมีความสำคัญในการพัฒนาและส่งเสริมให้เยาวชนให้สามารถเติมเต็มศักยภาพที่ตนเองมี มีทักษะชีวิตและทัศนคติเชิงบวกที่พร้อมเผชิญและสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครเห็นถึงความสำคัญของการวางรากฐานดังกล่าว จึงเปิดโอกาสให้เยาวชนดีเด่นที่มีความสามารถพิเศษทางการกีฬาและนันทนาการเข้ารับการศึกษาในระดับปริญญาตรี เพื่อพัฒนาและส่งเสริมในด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ สติปัญญา โดยกำหนดแนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมเยาวชนอย่างเป็นระบบ สามารถผลิตบัณฑิตพร้อมใช้และเป็นพลังในการขับเคลื่อนพัฒนาชุมชน สังคม ประเทศชาติและในระดับสากล ให้มีความเจริญก้าวหน้าในอนาคตต่อไปได้อย่างเต็มศักยภาพ
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (ม.ป.พ.). คู่มือปฏิบัติงานการพัฒนาเด็กและเยาวชน. กระทรวงมหาดไทย [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 7
มีนาคม 2564, จาก https://www.rongfong.go.th/documents/
งานบริหารงานบุคคล/คู่มือปฏิบัติงาน/4-2.คู่มือการปฏิบัติงาน การพัฒนาเด็กและเยาวชน.pdf
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (ม.ป.พ.). มาตรฐานการพัฒนาเด็กและเยาวชน. กระทรวงมหาดไทย [ออนไลน์]. ค้นเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2564, จากhttp://www.dla.go.th/work/e_book/eb1/stan15/p1.pdf
กองพัฒนานักศึกษา. (2562). ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เรื่อง กำหนดให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร พ.ศ. 2562. ลงวันที่ 11 กันยายน 2562. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. กรุงเทพฯ.
คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ. (2561). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560 – 2564 (ผนวกรวมแผนปฏิบัติการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560 - 2564). พิมพ์ครั้งที่ 2. เจ. เอส. การพิมพ์. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
ตุลา มหาพสุธานนท์. (2545). หลักการจัดการหลักการบริหาร. กรุงเทพฯ : น.ศ.พัฒนา.
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. (2524). พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานแก่ครูและนักเรียนที่ได้รับพระราชทานรางวัล ณ ศาลาดุสิดาลัย. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2564,จาก https://www.admissionpremium.com/content/4075พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550. (2551, 14 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนที่ 9 ก. หน้า 1-15. พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับที่ 2). (2560, 13 มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 63 ก. หน้า 1-12.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. (2560). แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
มัลลิกา วีระสัย. (2564). ภารกิจกองพัฒนานักศึกษา [สราทตรา เล่งไพบูลย์, ผู้สัมภาษณ์].
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2545). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.
สราทตรา เล่งไพบูลย์. (2554). รูปแบบการจัดการนันทนาการประเภทละครและการละครด้านศิลปวัฒนธรรมไทย และภูมิปัญญาไทย : กรณีศึกษา การแสดงโขนประจำปีการศึกษา 2551 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม). ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (11) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต (พ.ศ. 2561 – 2580)[ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2564, จาก: http://nscr.nesdb.go.th.
สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา. (2562) แผนด้านการอุดมศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564-2570 ฉบับสมบูรณ์ : สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
อาพัทธ์ เตียวตระกูล. (2555). รูปแบบการจัดการนิสิตนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษทางกีฬาในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. Veridian E–Journal,Silpakorn University[ออนไลน์], 5(3), ค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2564, จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/28265.
HR NOTE.asia. (2564). POLC ทฤษฎีการจัดการที่สร้างประสิทธิภาพให้กับองค์กร. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 6 พฤษภาคม 2564, จาก:
https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/190619-polc-management-concept/.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาตของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เว้นแต่จะได้รับอนุญาติเป็นอย่างอื่น