พุทธ พราหมณ์ ผี : ความเชื่อและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ณ เขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี
คำสำคัญ:
เขาคิชฌกูฏ, พุทธ, พราหมณ์, ผี, การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยด้านความเชื่อของนักท่องเที่ยวบนพื้นฐาน พุทธ พราหมณ์ ผี กับเทศกาลบูชาเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ การดำเนินการวิจัยใช้วิธีการวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแบบทุติยภูมิอย่างเป็นระบบ และการลงพื้นที่เพื่อสังเกต เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบเก็บข้อมูล ขั้นตอนการวิจัย ออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) รวบรวมข้อมูล โดยใช้การวิจัยเอกสาร 2) การลงพื้นที่เพื่อสังเกต 3) วิเคราะห์ข้อมูล 4) ประเมินและนำเสนอ ในการวิจัยครั้งนี้รวบรวมจากเอกสาร บทความภาษาไทย และภาษาอังกฤษ รวม 26 เรื่อง ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการไปเทศกาลบูชาเขาคิชกูฏ จังหวัดจันทบุรี คือ ปัจจัยด้านความเชื่อของนักท่องเที่ยว ความเชื่อของนักท่องเที่ยวอยู่บนพื้นฐานความเชื่อเรื่อง พุทธ พราหมณ์ ผี ไม่เฉพาะแต่นักท่องเที่ยวไทย แต่ยังรวมไปถึงการหลั่งไหลของกลุ่มผู้ที่มีความเชื่อ ศรัทธา ท่องเที่ยวไปเพื่อบูชาเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี การวิจัยนี้ยืนยันปัจจัยความเชื่อดังกล่าวที่มีผลต่อการไปท่องเที่ยวเทศกาลบูชาเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี ของนักท่องเที่ยวที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ บทความวิจัยทำให้เกิดความเข้าใจด้านการศึกษาสังคมศาสตร์ ในการอธิบายเรื่องความเชื่อของคนไทยในปัจจุบัน เพื่อประโยชน์ด้านการศึกษาสังคมศาสตร์และไทยศึกษาในอนาคตต่อไป
References
กนกวรรณ สุทธิพร. (2557). การผสมผสานทางวัฒนธรรมของพระพุทธศาสนาแบบจารีตในประเทศญี่ปุ่น:
กรณีศึกษาพระพุทธศาสนามหายาน นิกายฌิงงน แห่งหุบเขาโคยะ. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 31(1), 107-120.
คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง. (2561). ทวนิยมอินเดีย : เส้นทางและปรากฏการณ์ในสังคมไทย. Veridian E-Journal,
Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 11(2), 1582-1598
จักรกฤษณ์ กองเกิด และ สกาวเดือน ซาธรรม. (2564). บุญ กู่: คติความเชื่อ และ พลวัต พิธีกรรมการบูชา กู่ บ้านเมย
อำเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 11(4), 327-341.
จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา. (2547). อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ในประเทศไทยจากหลักฐานการจารึกและวรรณคดี
ไทยบางส่วน. ในวารสารอินเดียศึกษา ปีที่ 9. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ดำเกิง อัศวสุนทรางกูร. (2562). บุพปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อย่างยั่งยืนของ จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 7(4),1126-1139.
ธีระนันท์ วิชัยดิษฐ. (2558). คติความเชื่อเรื่องพระศิวะ ใน กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 23(41), 157-176.
นาตยา เกิดเดชา. (2565). ความสำเร็จของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา วัด และพระอารามหลวง
อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารวิชาการการจัดการภาครัฐ และ เอกชน, 3(2), 75-86.
ปารมิตา นิสสะ. (2564). “ผี–พราหมณ์–พุทธ” สักขีพยาน การแช่งชัก ในสมัยสุโขทัย: กรณีศึกษาจารึก ปู่ขุนจิด ขุนจอด. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 8(2), 438-451.
ประสพชัย พลุนนท์ และ กานติมา วิริยวุฒิ ไกร. (2554). ปัจจัยและพฤติกรรมการบูชาพระพิฆเนศวร ของ
นักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี, วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(6), 27-38.
เพ็ญพิมพ์ พวงสุวรรณ. (2560). การศึกษาตัวบ่งชี้ในการจัดการฝึกอบรมผู้ประสงค์จะเป็นมัคคุเทศก์ของ
สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย ตามกรอบแห่งพระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยว และ มัคคุเทศก์ พ. ศ. 2551. Journal of Thai Hospitality and Tourism, 12(1), 3-17.
พจนานุกรมราชบัณฑิตยสภา. (2554). ความเชื่อ [ออนไลน์]. จาก https://dictionary.orst.go.th/
พจนานุกรมศัพท์มานุษยวิทยา สำนักบัณฑิตยสถา. (2561). ลัทธิความเชื่อ [ออนไลน์]. จาก https://www.orst.go.th/
พรรณวดี พลสิทธิ์. (2561). แห่นางดาน: ว่าด้วยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเมืองนครศรีธรรมราช. วารสารรูสมิแล, 39(3), 65-67.
พัสกร อุ่นกาศ บัณฑิต โหน่งบัณฑิต และ อารุณ สิทธิวงศ์ (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเชื่อในพิธีกรรมแฝงทาง
พุทธศาสนา: กรณีศึกษาเขตเทศบาลเมืองเชียงราย อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย (รายงานการวิจัย). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
พระครูสุจิน รัตนากร และ บุญเชิด ชำนิศาสตร์. (2558). การบริหารจัดการวัดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 1(2), 188-199.
พระชลญาณมุนี ธมฺมโภชฺโช. (2563). พระพุทธศาสนา กับ ความเชื่อ. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆส ปริทรรศน์, 6(2), 99-115.
พระมหามนัสวี ฐิตธมฺโม (2564). การจัดการความเชื่อที่มีผลต่อจิตใจเชิงพุทธ: กรณีศึกษาวัดเจดีย์ (ไอ้ไข่), วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(6), 61-76.
พระมหาสมปอง ฐานิสฺสโร. (2565). พระธาตุแดนใต้: ประวัติศาสตร์พุทธศิลปกรรม และการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 7(1), 179-192.
พระอธิการสมภาร นิภาธโร (โยธี) พระมหาขุนทอง เขมสิริ สุทัศน์ ประทุมแก้ว และ พรทิพย์ เกิดถาวร. (2563). คติธรรมทางพระพุทธศาสนา ที่ปรากฏในการประกอบพิธีกรรม “แกลสะเอง” อำเภอไพรบึง จังหวัด ศรีสะเกษ. วารสาร มจร อุบล ปริทรรศน์, 5(1), 68-79.
มนชนก จุลสิกขี. (2562). แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนาวัดในพื้นที่ฝั่งธนบุรี. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 21(2),203-210.
วรัทยา ธนูศิลป์ (2562). อิทธิพลของภาพลักษณ์ และ การรับรู้คุณค่าต่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทย ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยวบัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
วริศา จันทร์ขำ. (2560). การเปรียบเทียบความหมาย ผี ในรายการโทรทัศน์ “คนอวด ผี” กับความเชื่อเรื่องผีในสังคมไทย. วารสารการสื่อสารมวลชน, 5(2), 46-70.
เสกสรรค์ สนวา และคณะ.(2563). การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามวิถีชีวิตของคนในชุมชน. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 4(1), 259-276.
สุทัศน์ ประทุมแก้ว พระวีระพงษ์ โคษา และ จักร์กฤษ ทองมี. (2563). คติความเชื่อ เกี่ยวกับพิธีกรรมบูชาศาลปู่ตาของชุมชน ในจังหวัด ศรีสะเกษ. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 5(3), 645-656.
อนุวัฒน์ ชมภูปัญญา และ ธนัสถา โรจนตระกูล (2565). การพัฒนาศักยภาพชุมชนแบบมีส่วนร่วมสู่ชุมชนท่องเที่ยวที่ยั่งยืน. Journal of Modern Learning Development, 7(8), 414-430.
Mcot Digital. (2566). "เขาคิชฌกูฏ" ตำนานแห่งศรัทธา [ออนไลน์], จาก https://www.mcot.net/view/UMsmVqQE
Ratanasuwongchai, N. (2011). Cultural tourism development strategies. Journal of Humanities,
(1), 31-50.
Österholm, M. (2010). Beliefs: A theoretically unnecessary construct? In Sixth Congress of the
European Society for Research in Mathematics Education. In January 28th-February 1st
, Lyon, France (pp. 154-163). RecherchePédagogique: Institut National de.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาตของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เว้นแต่จะได้รับอนุญาติเป็นอย่างอื่น