แซกโซโฟนประกอบกับวงดนตรีหมอลำ
คำสำคัญ:
แซกโซโฟน, วงดนตรีหมอลำบทคัดย่อ
การมีใจรักในการเล่นดนตรี และมีความมุ่งมั่นที่จะเป็นนักดนตรีอาชีพ ซึ่งนักดนตรีมีการลำ เช่น ลูกโหย่น ลูกไถ ลูกสั่นนิ้ว ลูกเดิ้น ลูกสะเดิด ลูกนอกเสียง ได้เริ่มศึกษาการบรรเลงแซกโซโฟน ฝึกฝน และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องจนมีความเชี่ยวชาญ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และรับการถ่ายทอดความรู้เพิ่มเติมจากนักดนตรีอาชีพ จนสามารถคิดค้นบทบรรเลงแซกโซโฟนประกอบการแสดงหมอลำ ซึ่งมีเทคนิคการบรรเลงที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง โดยกระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงแซกโซโฟนประกอบการแสดงหมอลำ เริ่มจากการถ่ายทอดความรู้ โดยการกำหนดเนื้อหา และระยะเวลาในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์ จากนั้นจึงเริ่มให้ฝึกการบรรเลงตามบทฝึกการบรรเลงแซกโซโฟนหมอลำ เป็นการเรียนการสอนแบบการสาธิตเป็นตัวอย่างให้ลูกศิษย์ปฏิบัติตาม และสอดแทรกกลเม็ดวิธีการบรรเลง เมื่อผ่านการฝึกแต่ละบทแล้วจะทำการประเมินผลการเรียนรู้ของศิษย์ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้
References
กรกฎ วงศ์สุวรรณ. (2549). การศึกษากระบวนการถ่ายทอดดนตรีไทยของปราชญ์ชาวบ้านในมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กรมศิลปากร. (2531). หมอลำ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์.
กฤษณะ ทิพย์อักษร. (2561). กระบวนการเรียนรู้และการถ่ายทอดการบรรเลงแซกโซโฟนประกอบการแสดงหมอ
ลําของอาจารย์ สําราญ บุบผาวาสน์. วิทยานิพนธ์ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2526). หมอลำ. อุบลราชธานี: ศิริธรรมออฟเซ็ท.
___________. (2528). การละเล่นที่จัดว่าเป็นมรดกอีสาน. อุบลราชธานี: ศิริธรรมออฟเซ็ท.
___________. (2543). ภูมิปัญญาอีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. อุบลราชธานี: ศิริธรรมออฟเซ็ท.
จิติกานต์ จินารักษ์. (2551). กระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงระนาดของครูประสิทธิ์ ถาวร กรณีศึกษาชุดเพลิน
เพลงพาทย์ระนาดเอก. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
เจริญชัย ชนไพโรจน์. (2526). ดนตรีพื้นบ้านอีสาน. มหาสารคาม: ภาควิชาดุริยางคศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ มหาสารคาม.
ชัยฤทธิ์ โพธิ์สุวรรณ. (2543). การศึกษานอกระบบ พื้นฐานการวางโครงการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นรินทร์ พุดลา. (2540). ศิลปะการแสดงพื้นบ้านอีสาน. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปิยพันธ์ แสนทวีสุข. (2541). การสร้างฐานข้อมูลทางดนตรีและศิลปะการแสดง พื้นบ้านอีสาน.รายงานการวิจัย. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ไพบูลย์ แพงเงิน. (2524). กลอนลำภูมิปัญญาของอีสาน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
____________. (2534). กลอนลำภูมิปัญญาของอีสาน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
มงคล ภิรมณ์ครุฑ. (2553). การพัฒนาแบบฝึกคลาริเน็ตเพื่อการบรรเลงเพลงไทย: กรณีศึกษาเพลงเดี่ยวพญาโศก.
วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
สมโชค สำเร็จกิจ. (2544). การสร้างชุดฝึกปฏิบัติ เรื่อง การเป่าแซกโซโฟนเบื้องต้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยบูรพา.
สราวุฒิ สีหาโคตร. (2557). การศึกษากระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงแคนลายแม่บทของครูสมบัติ สิมหล้า. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา ภาควิชาศิลปะดนตรีและนาฎศิลป์ศึกษา จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย.
สุกรี เจริญสุข. (2529). ศิลปะการเป่าแซกโซโฟน. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. เพ็นติ้งเฮ้าส์.
___________. (ม.ป.ป.)ดนตรีเพื่อพัฒนาศักยภาพของสมอง. นครปฐม: วิทยาลัยดุริยางคศิลปะ.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2532). ร้องลำทำเพลง : ดนตรีและนาฏศิลป์ชาวสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน.
สุรเชษฐ์ เวชชพิทักษ์. (2533). รากฐานแห่งชีวิต : วัฒนธรรมชนบทกับการพัฒนา. กรุงเทพฯ: หมู่บ้าน.
อนุสรณ์ อนันตภูมิ. (2557). กระบวนการถ่ายทอดวิชาหมอลำของหมอลำบัวผัน ดาวคะนอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อุดม บัวศรี. (2528). วัฒนธรรมอีสาน. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาตของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เว้นแต่จะได้รับอนุญาติเป็นอย่างอื่น