การวิจัยมีวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการในการปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธร กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรหน่อม อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธร กรณีศึกษาสถานี

Main Article Content

ด.ต.เสด็จ มุณีไชย

Abstract

          The purpose of this research was to 1) study drug administration of police officers. A case study of Naom Police Station At Samat District Roi Et Province 2) to study the effectiveness of drug suppression of police officers A case study of Naom Police Station At Samat District Roi Et Province and 3) to study problems, obstacles and guidelines for drug suppression of police officers. (Narcotics Suppression Clothes) Police Station At Samat District Roi Et Province The population in this study was Police officer Police Station At Samat District Roi Et Province, 40 officers and 30 people in the area responsible for the Naom Police Station, a total of 70 people. The tool used in the study was an interview form. Study at the Naom Police Station At Samat District Roi Et Province The study was conducted in an in-depth interview. From the sample population of 2 groups: Group 1, the Provincial Police Officers and Group 2, the general public in the Naom Police Station area By defining the issues in the educational interview There are no different opinions on each issue.

Article Details

How to Cite
มุณีไชย ด. . . (2020). การวิจัยมีวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการในการปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธร กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรหน่อม อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธร กรณีศึกษาสถานี. RATANABUTH JOURNAL, 2(1), 87–96. Retrieved from https://so07.tci-thaijo.org/index.php/rtnb/article/view/673
Section
Research Article

References

กรรณิการ์ วิขันภประหาร. (2539). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.

เจริญ แฉกพิมาย และปนัดดา ศรีธนสาร. (2555). พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากยาเสพติดของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ชมัยพร อนุอัน. (2540). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการติดสารเสพติดของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชารัฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชูสวัสดิ์ จันทร์โรจนกิจ. (2541). การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการป้องกันอาชญากรรมในพื้นที่เขตรับผิดชอบของสถานีตำรวจนครบาลห้วยขวาง, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาสังคม. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ทิตยา สุวรรณชฎ, (2517). สังคมวิทยาในวิทยาศาสตร์สังคม. กรุงเทพมหานคร : สำนักวิจัยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

นราศักดิ์ ปานบุตร. (2554). การสร้างรั้วชุมชนในการป้องกันปัญหายาเสพติด โดยความร่วมมือของแกนนำในชุมชน บ้านบ่อแปดร้อย เทศบาลตำบลในเมือง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย. สุโขทัย : สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาค 6.

นวลจันทร์ ทัศนชัยกุล. (2548). อาชญากรรมการป้องกันการควบคุม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นันทินี พันธวงศ์. (2543). ปัจจัยการแพร่ระบาดของสารเสพย์ติดในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

บรรลือศักดิ์ ม่วงนาค. (2557). การแก้ไขปัญหายาเสพติดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลบางโฉลง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสาร มฉก.วิชาการ 16. ปีที่ 17 ฉบับที่ 34 มกราคม - มิถุนายน 2557.

มานพ เนียรภาค. (2555). ประสิทธิภาพในการดำเนินการปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจสถานีตำรวจภูธรเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

ประมวล ศรีทอง. (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กรณีศึกษากิ่งอำเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ์. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชานโยบายสาธารณะ. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ : มหาวิทยาลัยบูรพา.

พิชญ์ สมพอง, (2529). สังคมวิทยาว่าด้วยการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : กิ่งจันทร์การพิมพ์.

พจนา วรวัฒนเมธีกุล. (2546). ปัจจัยที่มีผลต่อการกระทำความผิดซ้ำ ศึกษาเฉพาะกรณีผู้ต้องขังในทัณฑสถานบำบัดพิเศษหญิง จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พรรณี ชูทัยเจนจิต. (2538). จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : ต้นอ้อแกรมมี.

ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2526). หลักการพัฒนาชุมชนและหลักการพัฒนาชนบท.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ไทยอนุเคราะห์.

วีรวรรณ สุธีรไกรลาส. (2536). ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการต้านทานการติดยาเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

วิทยากร เชียงกูล, (2527). การพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทยบทวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ฉับแกระ.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2540). ทฤษฎีและกลยุทธ์การพัฒนาสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุนทรีพรรณ กำปั่นทอง. (2557). ปัญหาและอุปสรรคในการปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ชุดปราบปรามยาเสพติดตำรวจภูธร จังหวัดยะลา. วิทยานิพนธ์.รัฐประศาสนศาสตร์ (สาขาการปกครองท้องถิ่น). คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

ศุภร ชินะเกต. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกันยาเสพติดของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สังกัดอาชีวศึกษา จังหวัดราชบุรี, วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปกร.

อมร รักษาสัตย์ และขัตติยา กรรณสูต. (2515). ทฤษฎีและแนวความคิดในการพัฒนาประเทศ : ชุมชนสหกรณ์การขายและการซื้อแห่งประเทศไทยกรุงเทพมหานคร.

อรรจน์พร ณไพรี. (2556). ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการลักลอบนำยาเสพติดเข้าประเทศของเจ้าหน้าที่ศุลกากร สำนักตรวจของผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. วารสารวิทยบริการ. ปีที่ 24 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2556.

T.R. Batten. Community and Their Development. London : Oxford University Press, 1959,p. 2.

Hoogvelt, Community and Their Development. London : Oxford UniversityPress, 1959, Ibid., pp. 18-19.

S.M.Freud. The Interpretation of Dreams. New York : Avon Books.1965