ชีวิตการเรียนดนตรี ณ สำนัก “บ้านบาตร” ในความทรงจำของครูเยื่อ อุบลน้อย
Main Article Content
บทคัดย่อ
กระบวนการเรียนดนตรีของครูเยื่อ อุบลน้อย ในสำนัก “บ้านบาตร” มีองค์ประกอบสำคัญ 3 ประการ ได้แก่ 1) แหล่งเรียนรู้ มี 2 ลักษณะ คือ แหล่งเรียนรู้ที่จัดขึ้น (สำนักดนตรีบ้านบาตร) และแหล่งเรียนรู้ที่เป็นทรัพยากรบุคคล (ครูหลวงประดิษฐไพเราะ) 2) การจัดการเรียนรู้ แบ่งเป็น 3 ส่วนย่อย คือ หลักสูตร (แบบบังคับ และแบบยืดหยุ่น) การจัดการเรียนรู้ (เปิดรับผู้เรียนทั่วไป เน้นการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติในรูปแบบไปกลับและแบบประจำ) และการวัดประเมินผล (ไม่ปรากฎการวัดประเมินผลที่ชัดเจน) และ 3) ผู้เรียน (มักมีทักษะพื้นฐานในการบรรเลงเครื่องดนตรีมาก่อน) อัตลักษณ์ที่มีความโดดเด่นในสำนักดนตรีนี้ คือ กระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการคัดเลือกผู้เรียนที่มีศักยภาพดีเยี่ยมมาพัฒนาต่อยอด
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
หนังสืออนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ ครูเยื่อ อุบลน้อย ศิษย์หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) [The Memorial book for the cremation of Khru Yue Ubon-noi : disciple of Luang Pradit Phairo (Son Sinlapa Banleng). (2014). (n.p.).
Chanboon, N. (2010). การจัดการความรู้ทางดนตรีไทย: กรณีศึกษามูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) [Thai Music Knowledge Management: A Case Study of the Foundation of Luang Pradit Phairo (Son Sinlapa Banleng)]. (Master's thesis, Thammasat University). https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:122017.
E Rahoei Loichai. (2022). พิธีไหว้ครู มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ/ครูประสิทธิ์ ศิษย์ศรทอง พ.ศ. 2538. [Teacher Respect Ceremony, Luang Pradit Phairo Foundation, Khru Prasit Sit Sonthong, B.E. 2538]. Retrieved June 24, 2024, from https://www.youtube.com/watch?v=OV6ZgVhI_3s
Pleinsri, A. (2012). พินิจดนตรีไทย เล่ม 2 ชุด สารัตถะดนตรีไทย [Thoughtful Consideration in Thai Traditional Music, Vol.2 : The essence of Thai Traditional Music]. Bangkok: Thammasat University Press.
Ministry of Education. (2024, 20 February). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (ฉบับอัพเดท) [National Education Act B.E. 2542 (Updated Edition)]. Retrieved February 20, 2024, from https://www.moe.go.th/พรบ-การศึกษาแห่งชาติ-พ-ศ-2542/
Ministry of Education. (2024, 12 June). พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 [Non-Formal and Informal Education Promotion Act, B.E. 2551]. Retrieved June 12, 2024, from https://www.moe.go.th/พระราชบัญญัติส่งเสริมก/
Nakkong, A., Sagarik, A., & Wongthet, S. (Ed.). (2001). หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) มหาดุริยกวีลุ่มเจ้าพระยาแห่งอุษาคเนย์ [Luang Pradit Phairo (Son Sinlapa Banleng) : The Great Poet of Chao Phraya River in Southeast Asia]. Bangkok: Matichon Publisher.
Naksawat, U. (1983). 48 ปีของข้าพเจ้าและบทความบางเรื่อง: อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์ ดร.อุทิศ นาคสวัสดิ์ [48 Years of My Life and Some Articles: Memorial on the Royal Cremation Ceremony of Professor Dr. Uthit Naksawat]. Bangkok: Charoenwit Publisher.
Osotcharoen, N. (2008). วิธีการถ่ายทอดความรู้ของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) [Pedagogical Method of Master Luang Pradit Phairo (Son Sinlapa Banleng)]. (Master's thesis, Chulalongkorn University). http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1944.
Royal Society of Thailand. (2013). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 [Thai-Thai Dictionary of the Royal Institute of Thailand, 2013 Edition]. Bangkok: The Royal Institute of Thailand.
Sakyabhinand, W. (2011). คุรุกุล: สถาบันการศึกษาของอินเดียสมัยโบราณ [Gurukula: An ancient Indian institute of education] Humanities Journal, 18(2), 1-16. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/abc/article/view/54178
Sukrahat. (1955). คุณครูจางวางศร [Master Teacher Changwang Son]. In หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) [Thai Royal Cremation Ceremony Book for Luang Pradit Phairo (Son Sinlapa Banleng)]. Retrieved from https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:6996