ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำดิจิทัล, ผู้บริหารโรงเรียนเอกชนบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับภาวะผู้นำดิจิทัลซึ่งมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะที่หลากหลายมุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนและบุคลากรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอองค์ประกอบภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน พบว่ามีองค์ประกอบ 4 ประการคือ 1) วิสัยทัศน์เกี่ยวกับดิจิทัล 2) ทักษะและความรู้ดิจิทัล 3) การสื่อสารและสารสนเทศโดยดิจิทัล 4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งผู้เขียนบทความวิชาการได้สังเคราะห์จากแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ผลงานวิชาการของนักการศึกษา นักวิชาการมาพิจารณาความสำคัญ และสอดคล้องกับบริบทของภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน ซึ่งเป็นองค์กรที่แบ่งเบาภาระให้กับรัฐบาลในการจัดการศึกษาให้กับประชาชน รัฐบาลได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนากำลังคนสู่ยุคดิจิทัล เพิ่มศักยภาพกำลังคนดิจิทัล ทักษะดิจิทัลเบื้องต้น ผู้บริหารโรงเรียนเอกชน จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการปรับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ เพื่อบริหารรูปแบบใหม่
จึงต้องอาศัยภาวะผู้นำดิจิทัล เพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
References
กนกอร สมปราชญ์. (2560). ภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน: การศึกษาทฤษฎีฐานราก. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 12(34), 51-66.
จันทนา แสนสุข. (2559). ภาวะผู้นำ Leadership. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: บริษัท ทริปเพิ้ลกรุ๊ป จำกัด.
จิตรกร จันทร์สุข. (2564). การศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำดิจิทัลสำหรับผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาส. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 15(2), 36-49.
ชุติรัตน์ กาญจนธนชัย. (2562). ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำดิจิตอลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
ดาวรุวรรณ ถวิลการ. (2564). ภาวะผู้นำดิจิทัล. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปกรณ์ ลี้สกุล. (2561). Leadership in digital era: ภาวะผู้นำในโลกดิจิทัล. เรียกใช้เมื่อ 1 2สิงหาคม 2565 จาก http://today.line.me/th/pc/article/leadership+in+Digital+Era
เลอศักดิ์ ตามา และ สุมาลี ศรีพุทธรินทร์. (2564). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. วารสารรัชต์ภาคต์, 15(38), 224.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2562). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชญา โกมลวานิช และคณะ. (2563). องค์ประกอบของภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23. ใน สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (บ.ก.) การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21 (น.700-708). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พา อักษรเสือ และ เอกราช โฆษิตพิมานเวช. (2562). ภาวะผู้นำแบบยั่งยืนของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาจังหวัดขอนแก่น. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6(3), 634.
American Library Association. (2017). Guidelines for information services. New York: Marcel Dekker,Inc.
Bowden, D. (2007). Origins and concepts of digital literacy. (p.19-34) In Lan kshear, C. & Knobel, M. (Eds.). Digital literacies: Concepts, policies and practices. New York: LangPub.
Gkuster, P. (1997). Digital literacy. New York: John Wiley.
Martin, A. (2008). Digital literacy and the “Digital society. (p.151-175). In Lankshear, C.,
& Knobel, M. (Eds.) Digital literacy: Concepts, policies and practices. New York: Lang Pub.
Sheninger, E. (2019). Digital leadership: changing paradigms for changing time. Newbury Park, CA: Sage Publications.
Sullivan, L. (2017). 8 Skills Every Digital Leader Needs. https://www.cmswire.com/digitalworkplace/8-skills-every-digital-leader-needs/
Toduk, Y. (2014). 2023 Lideri-Dijital Çağın Liderlik Sırları. Istanbul. Doğan Egmont
Yayınları.