ขบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยหลักไตรสิกขาโรงเรียนปริยัติธรรม แผนกสามัญในประเทศไทย
คำสำคัญ:
ขบวนการจัดการเรียนรู้, หลักไตรสิกขาบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอขบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะขบวนจัดการศึกษาที่ทำให้พระภิกษุสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สามารถดำรงตนในสถานการณ์โลกแห่งศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีประสิทธิภาพท่ามกลางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงเติบโตทั้งโลกแห่งความเป็นจริงและโลกเสมือนจริงในสังคมออนไลน์ ดังนั้น ขบวนการในการจัดการศึกษาพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ถือว่าเป็นกลไกสำคัญที่สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถของบุคคลว่ามีความพร้อมในการเข้าสู่สังคมสากล โดยสะท้อนให้เห็นว่าขบวนการในการจัดการเรียนรู้โดยหลักไตรสิกขาเป็นการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกับสิ่งที่เรียนจริง ๆ แล้วพิจารณาให้เห็นประโยชน์คุณโทษตามความเป็นจริงด้วยตนเอง แล้วนำความรู้นั้นมาปฏิบัติตามอย่างจริงจัง ในขบวนการเรียนรู้ที่ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบนั้นหมายถึง ครูผู้ทำหน้าที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านกระบวนการที่ให้ผู้เรียน ซึ่งหมายถึงพระภิกษุ สามเณร ปฏิบัติจริงตามหลักไตรสิกขา (1) ขั้นศีล ให้ผู้เรียนเลือกกระทำถูกหรือผิดในการสนองตอบสถานการณ์ที่ผู้สอนให้ในขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับหลักปฏิบัติที่เรียกว่า “ศีลสิกขา” เป็นการควบคุมตนเองให้อยู่ในความถูกต้องทางกาย วาจา (2) ขั้นกำหนดสมาธิ เป็นการฝึกสมาธิขั้นต้น ในการควบคุมสติให้ระลึกรู้อยู่กับลมหายใจ เพื่อระลึกรู้แน่วแน่ที่จุดเดียว ในขั้นตอนนี้จะเรียกเกี่ยวข้องกับหลักปฏิบัติที่ว่า “จิตสิกขา” และ (3) ขั้นพิจารณาปัญญา เป็นขั้นสุดท้ายหลังจากการฝึกสมาธิระยะหนึ่งจนสามารถระลึกรู้ พิจารณา แน่วแน่ด้วยสติปัญญาว่าการกระทำผิดหรือถูก สามารถเลือกปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ในขั้นนี้เรียกว่า “ปัญญาสิกขา” เป็นการนำเสนอในลักษณะวงกลมในการสร้างความท้าทายใหม่ให้แก่นักเรียนที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่นักเรียนจำเป็นต้องเรียนรู้และแสดงสมรรถภาพตามมาตรฐานหลักทางวิชาการ
References
สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. (2545). 20 วิธีจัดการเรียนรู้ : เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมค่านิยมและการเรียนรู้ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.
พระราชวรมุนี. (2521). การศึกษาของคณะสงฆ์ไทยในปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น). (2539). พระธรรมเทศนา. หนังสืองานศพ. กรุงเทพมหานคร : ผู้แต่ง
กรมการศาสนา. (2521). เอกสารสำหรับใช้ประกอบการพิจารณาเรื่องการศึกษาของคณะสงฆ์. กรุงเทพมหานคร: กรมการศาสนา.
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน). (2514). พระธรรมเทศนา. หนังสืองานศพ. กรุงเทพมหานคร : ผู้แต่ง
วิชัย ธรรมเจริญ. (2541). คู่มือการปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2557). คู่มือปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
กองพุทธศาสนศึกษา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2565). แผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. เรียกใช้เมื่อ 10 ตุลาคม 2566 จาก https://www.debsecond.org/แผนยุทธศาสตร์พัฒนา การศึกษา.html.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2545). การศึกษาฉบับง่าย - Education Made Easy. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์สวย.
พระมหาสุวรรณ สุวณฺโณ (จุลพงษ์). (2563). การพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์, 8(2), 297-306.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.
เสน่ห์ เจริญศักดิ์. (2547). การดำเนินการตามมาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุ่มโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญสามัญศึกษา กลุ่ม 5. ใน สารนิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พระครูวินัยธรอำนาจ พลปญฺโญ และคณะ. (2560). พุทธจริยศาสตร์กับการพัฒนาการศึกษา เรื่องความจริง ความรู้ ความดี. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 5(1), 332.
สัมภาษณ์ ผู้ปกครองในพื้นที่ชุมชน อำเภอวังน้อย จังหวัดอยุธยา เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2566
Phra Dhammapitaka (P.A. Payutto). (1994). Education for sustainable civilization. Bangkok: Sahathamik Company Limited.
Office of the National Primary Education Commission. (1998). Advance to standard Learning. 12 towards life skills : ideas, guidelines for the development of children to be good, smart, happy and the power to create a beautiful world. Bangkok: Office.
Bhikkhu, B. (1982). Buddhadasa and education. Journal of Education Studies, 11 Bangkok: Aksorn Chareonat.
Phra Ratchaworamuni (P.A. Payutto). (1982). Expanded version of Dharma. Bangkok: Faculty of Dharma.