การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • ธัญญภัสร์ วีรลักษมีภรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • จิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ทนง ทองภูเศร์ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

คำสำคัญ:

การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา, ยุคดิจิทัล, ทักษะดิจิทัล

บทคัดย่อ

การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลเป็นความท้าทายอย่างยิ่งเพราะผู้บริหารต้องเผชิญกับการการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงมีความสำคัญที่ผู้บริหารสถานศึกษาต้องพัฒนาทักษะและความสามารถเพื่อนำพาองค์กรให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง บทความนี้มุ่งนำเสนอแนวทางการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล

          ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลจำเป็นต้องพัฒนา 5 ประเด็น ได้แก่ (1) ทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (2) วัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อต่อนวัตกรรม (3) โครงสร้างข้อมูลและข่าวสาร (4) กลยุทธ์ในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล และ( 5 ) การประชุมเครือข่ายความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ

          สรุปผลการศึกษาได้ว่า การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลจำเป็นต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในเรื่องของเทคโนโลยี รู้เท่าทันโลกไซเบอร์ ความปลอดภัยในเทคโนโลยี การพัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคดิจิทัล

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). การพัฒนาผู้บริหารการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

ชาญณรงค์ บุญหนุน. (2563). การศึกษากับความเป็นผู้นำในยุคดิจิทัล. วารสารการบริหารการศึกษา, 32(1), 15–28.

ศิริลักษณ์ โชควิวัฒน์. (2562). การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาในยุคดิจิทัล. วารสารเทคโนโลยีการศึกษา, 27(2), 95-108.

สมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย. (2565). เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการสถานศึกษา. เชียงใหม่: สมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย.

Fullan, M. (2020). Leading in a Culture of Change. Jossey-Bass.

Hallinger, P., & Heck, R. H. (1998). Exploring the principal’s contribution to school effectiveness: 1980–1995. School Effectiveness and School Improvement, 9(2), 157–191.

Hamilton, L. S., & Stecher, B. M. (2016). Using Data to Improve School Effectiveness. Rand Corporation.

Highsmith, J. (2009). Agile Project Management: Creating Innovative Products. Addison-Wesley Professional.

Hobbs, R. (2010). Digital and media literacy: A plan of action. The Aspen Institute.

Leithwood, K., & Jantzi, D. (2006). Transformational school leadership for large-scale reform: Effects on students, teachers, and their classroom practices. School Effectiveness and School Improvement, 17(2), 201–227.

Robinson, V. M. J. (2011). Student-Centered Leadership. Jossey-Bass.

UNESCO. (2020). Embracing a culture of lifelong learning: Contribution to the Futures of Education initiative. UNESCO Publishing.

Wagner, T. (2018). The Global Achievement Gap: Why Even Our Best Schools Don’t Teach the New Survival Skills Our Children Need—and What We Can Do About It. Basic Books.

Zhao, Y. (2019). Teaching in the Digital Age: How Educators Use Technology to Improve Learning Outcomes. Routledge.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-10-23