แนวทางการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
แนวทางการจัดการเรียนรู้, ยุคดิจิทัลบทคัดย่อ
ในโลกยุคปัจจุบันการจัดการศึกษามุ่งเน้นให้ความสำคัญกับผู้เรียนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการจัดการเรียนรู้มุ่งให้ผู้เรียนแต่ละคนได้มีการพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มีความรู้สามารถ ตลอดจนสามารถนำความรู้ ไปใประยุกต์ในชีวิตประจำวันและเกิดการเรียนรู้ต่อยอดจากการจัดการเรียนรู้พัฒนานักเรียนไปสู่ความเป็นการเป็นพลเมืองของสังคมและประเทศชาติ จึงเป็นการนำเสนอ ทางการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลเป็นแนวทางในการจัดการบริหารชั้นเรียน ดำเนินการพัฒนา ปรับปรุงบรรยากาศและสภาพแวดล้อมอันจะมีส่วนเสริมสร้างความคิด และจิตใจ เพื่ออำนวยความสะดวกสบาย ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ซึ่งสภาพแวดล้อมจะมีส่วนช่วยส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้กระบวนการคิด มีความสุขกับการเรียน จะส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มที่เต็ม ส่งผลให้นักเรียนมีประสิทธิภาพและยังนำมาเป็นแนวทางในปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางการเรียนของสถานศึกษาในยุคดิจิทัล
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2561). การออกแบบการเรียนแนวดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จีระพงษ์ โพพันธุ์. (2562). ความหมายของเทคโนโลยี.เรียกใช้เมื่อ 15 กันยายน 2563 จาก https://kru-it.com/design-andtechnology-m1/definition-of-technology.
จิติมา วรรณศรี. (2564). การบริหารจัดการศึกษายุคดิจิทัล. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณการพิมพ์.
ฐิติวัสส์ หมั่นกิจ. (2565). ภาวะผู้นําเชิงคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษา.วารสารมณีเชษฐาราม วัดจอมมณี, 5(3),124-140.
นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล (2558). เด็กยุคดิจิทัล. วารสารสารานุกรมศึกษาศาสตร์ (encyclopedia of Education), 57,79-83.
มาริสา ธรรมมะ. (2558). การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 2. ใน วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.
วิจารณ์ พาณิช. (2557). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: ตถาตา พับลิเคชั่น.
วนิดา ปณุปิตตา. (2561). การพัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนบงใต้โนนรังพัฒนาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2. ในปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). เป้าหมายยุทธศาสตร์และตัวบ่งชี้การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2560). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. พิษณุโลก: พิษณุโลกดอทคอม.
เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2559). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. เรียกใช้เมื่อ 25 สิงหาคม 2563, จาก https://www.trueplookpanya.com.
Creighton, T. (2011). The principal as technology leader. Thousand Oaks, CA: Corwin.
Jules, D. (2008). Rethinking education for the caribbean: A radical approach. Comparative education, 44(2), 203-214.
Jukes, I., McCain, T., Crockett, L. (2010). Understanding the digital generation: Teaching and learning in the new digital landscape. Retrieved November 18, 2021, from https://www.academia.edu.
Prenksy, M. (2001). Digital natives, digital immigrants in the horizon. Retrieved October 20, 2021, from http://www.marcprensky.com.