การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • อุกฤษฎ์ ดอนบรรเทา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • เอกราช โฆษิตพิมานเวช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การพัฒนา, การจัดการเรียนรู้, ยุคดิจิทัล

บทคัดย่อ

ในโลกปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ มีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วซึ่งส่งผมกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง วัฒนธรรม จึงส่งผลให้ผู้สอนต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ประกอบกับผู้เรียนในยุคดิจิทัล จะต้องมีทักษะทางด้านเทคโนโลยีที่ใช้ในการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้และการดำรงชีวิตของตนเองเป็นอย่างดี ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนผู้สอนจะต้องเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการนำเทคโนโลยีมาใช้ประกอบการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนและ การที่ผู้สอนจะสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้นผู้สอนจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี มีความสุขบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียงและยั่งยืน โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทยให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์และคิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทำงาน และ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติสุข

References

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2562). กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เข้าถึงจาก:http://library.nhrc.or.th/ulib/dublin.php?ID=10558.

ฐิติวัสส์ หมั่นกิจ. (2565). ภาวะผู้นําเชิงคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษา.วารสารมณีเชษฐาราม วัดจอมมณี, 5(3).125-41.

ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2557). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. นครปฐม: บริษัท ส. เจริญการพิมพ์จำกัด.

วิจารณ์ พานิช. (2560). เส้นทางสู่คุณภาพการศึกษายุคประเทศไทย 4.0 การประชุมเชิงวิชาการทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยวงษ์เชาวลิตกุล ศูนย์ประชุมสตาร์เวลล์จังหวัดนคราชสีมา. นคราชสีมา : มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2545). กรอบแนวทางแผนกลยุทธ์แก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ. 2545 - 2549. กรุงเทพมหานคร: สํานักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). สภาวะการศึกษาไทยปี 2559/2560 แนวทางการปฏิรูการศึกษาไทยเพื่อก้าวสู่ยุค Thailand 4.0. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2558). ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี: การนำเทคโนโลยีสู่ห้องเรียนและโรงเรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(4), 216-224.

สุชญา โกมลวานิช และคณะ. (2563). องค์ประกอบของภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23. ใน สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน (บ.ก.) การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21 (น.700-708). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เอกราช โฆษิตพิมานเวช. (2560) รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิผล สังกัดสำนักงานเขตพี้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 1. ใน วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณทิต, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

Wice Logistics. (2560). Digital 4.0. WICE Logistics Public Company Limited. https: // www. wice.co. th /2018/01/11/ digital-4-0-technology/.

Prensky, M. (2001). Educational Technology for School Leaders. California: Unites States of America.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30