ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชนในเขตตำบลอากาศ อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร

Main Article Content

สุมินทร เบ้าธรรม
ดวงฤดี อู๋
ยุพิน เรืองแจ้ง
จิราภา ชาลาธราวัฒน์
เมธาวี ใครบุตร

บทคัดย่อ

       การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชนในเขตตำบลอากาศ อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคุณ


     ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ด้านรายได้-ค่าใช้จ่าย และอัตราดอกเบี้ยมีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนปัจจัยทางเศรษฐกิจด้านภาวะเงินเฟ้อไม่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการเงินตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

Article Details

How to Cite
เบ้าธรรม ส., อู๋ ด., เรืองแจ้ง ย., ชาลาธราวัฒน์ จ., & ใครบุตร เ. (2024). ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชนในเขตตำบลอากาศ อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร. วารสารวิทยาการจัดการและการบัญชี, 3(1), 1–22. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/JMSA_FMS_URU/article/view/2881
บท
บทความวิจัย

References

กลางใจ แสงวิจิตร, ธนาวุธ แสงกาศนีย์, พรทิพย์ จิระธำรง, พเนิน อินทระ, ศรรสนีย์ สังข์สุวรรณ, และภูมิ ชี้เจริญ. (2562). การเปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมการจัดการการเงินส่วนบุคคลก่อนและหลังเรียนรายวิชาการเงินส่วนบุคคลของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. Hatyai Academic Journal, 17(2), 127-141.

เกษมะณี การินทร์, ระวีพรรณ อุตรินทร์, รัชนีกร บวรชาติ และณัฐวุฒิ ชุชวัญ. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลเพื่อเตรียมพร้อมสู่วัยเกษียณของบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์. สยามวิชาการ, 19(1), 37-53.

ชาญณรงค์ ชัยพัฒน์. (2563). ความยั่งยืนทางการเงินส่วนบุคคลและพฤติกรรมการออมการลงทุนเพื่อวัยเกษียณ. (ปรัญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพมหานคร.

ดวงกมล สุวรรณล้วน. (2562). ความสนใจและความตระหนักรู้ในการวางแผนการออมเงินและพฤติกรรมการออมเงินของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดพัทลุง. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์), มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.

เทศบาลอำเภออากาศอำนวย. (2564). ข้อมูลพื้นฐานอำเภออากาศอำนวย. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2565 จาก https://www.akatumnuay.go.th/index.php?option=com_content&task=view&id=35&Itemid=129.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563). รายงานผลการสำรวจทักษะทางการเงินของไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.bot.or.th/th/satang-story.html.

ธนานพ ลิ่มสุวรรณโรจน์. (2562). การวางแผนทางการเงินของนักเรียนมัธยมปลายในกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์), สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.

นราวัลลภ์ ศุภวงศ์. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการเงินในคนวัยทำงาน. (การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิตไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยสยาม.กรุงเทพมหานคร

ปริวัตร ป้องพาล. (2563). การวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อสร้างภูมิคุ้นกันทางด้านเศรษฐกิจของครูและบุคลากรทางการศึกษา. รายงานวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพมหานคร.

ภณิตา สุนทรไชย, รทวรรณ อภิโชติธนกุล, และกอบชัย นิกรพิทยา. (2560). การวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.

ยงยุทธ แฉล้มวงษ์. (2564). ผลกระทบ COVID-19 ระบาดรอบ 2 ต่อเนื่องรอบ 3 กับทิศทางตลาดแรงงานไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2566 จาก https://tdri.or.th/2021/04/covid-19-2-3-affected-thai-labor-market/

รังสรรค์ สิงหเลิศ. (2551). ระเบียบวิธีวิจัยและการใช้สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์. มหาสารคาม : ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.

สมบูรณ์ สารพัด, ศิรินุช อินละคร และชไมพร ชินโชติ. (2565). การวางแผนการเงินส่วนบุคคลของประชากรวัยทำงานในจังหวัดชลบุรี. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(2), 218-234.

สิทธิชัย ลีวิวัฒน์วงศ์, วัลลพ ล้อมตะคุ, ปาลิตา คำยัน, กัญญาณัฐ ชิดชม และศุภานันท์ ตึ้ง. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดพะเยา เขต 1. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 41(2), 103-111.

ศรัญญา ศึกสงคราม และ อนงค์นุช เทียนทอง. (2563). อิทธิพลของความรู้และทัศนคติทางการเงินต่อการก่อหนี้ส่วนบุคคล ในวัยทำงาน: หลักฐานการศึกษาในจังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี, 2(5), 73-87.

ศศินันท์ ศาสตร์สาระ. (2563). การวางแผนการเงินส่วนบุคคลเพื่อเตรียมความพร้อมการเกษียณอายุของพนักงานบริษัทเอกชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 “ศาสตร์พระราชา และการวิจัยเพื่อสร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Disruptive Technology ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ระหว่างวันที่ 9-10 กรกฎาคม 2563.

หทัยรัตน์ ควรรู้ดี, มาลิณี ศรีไมตรี และอรวรรณ ตามสีวัน. (2565). การวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชนตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารการจัดการและการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 9(1), 107-122.

องค์การบริหารส่วนตำบลอากาศ. (2566). แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2566 จาก https://www.akatumnuay.go.th/index.php?option=com_content&task=view&id=35&Itemid=129

อภิสิทธิ์ ตระการไพโรจน์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจออมเพื่อการเกษียณอายุของกลุ่มคนวัยทำงาน Generation Y ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร.

เอก ชุณหชัชราชัย. (2563). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลของกลุ่มคนที่เพิ่งเริ่มต้นการทำงานในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 26(2), 13-23.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis: A Global Perspective (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Nunnally, J.C. and Bernstein, I.H. (1994) The Assessment of Reliability. Psychometric Theory, 3, 248-292.

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research. 2, 49-60.

Yamane, T. (1967). Statistics, An Introductory Analysis (2nd Ed.), New York: Harper and Row.