การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจประสบการณ์การท่องเที่ยวที่น่าจดจำ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษล้านนาตะวันออก

Main Article Content

ประสิทธิชัย นรากรณ์
ธัมมะทินนา ศรีสุพรรณ

บทคัดย่อ

       การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของประสบการณ์การท่องเที่ยวที่น่าจดจำของนักท่องเที่ยวที่เคยมาเที่ยวในเขตเศรษฐกิจพิเศษล้านนาตะวันออก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เคยมาเที่ยวในเขตเศรษฐกิจพิเศษล้านนาตะวันออก จำนวน 440 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ โดยสกัดองค์ประกอบด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบหลักและหมุนแกนด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิเคราะห์พบว่าประสบการณ์การท่องเที่ยวที่น่าจดจำของนักท่องเที่ยวมี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ การแสวงหาความสุข ความแปลกใหม่ วัฒนธรรมท้องถิ่น การเติมพลังให้ชีวิต การมีคุณค่ามีความหมาย และการมีส่วนร่วม

Article Details

How to Cite
นรากรณ์ ป., & ศรีสุพรรณ ธ. (2024). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจประสบการณ์การท่องเที่ยวที่น่าจดจำ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษล้านนาตะวันออก. วารสารวิทยาการจัดการและการบัญชี, 3(2), 77–91. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/JMSA_FMS_URU/article/view/5586
บท
บทความวิจัย

References

กริช แรงสูงเนิน. (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยด้วย SPSS และ AMOS เพื่อการวิจัย. ซีเอ็ดยูเคชั่น.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วย AMOS. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กุณฑลี รื่นรมย์. (2558). การวิจัยการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 8). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จีรเดช ศรีวิราช, ประสิทธิชัย นรากรณ์ และธัมมะทินนา ศรีสุพรรณ (2567). ความผูกพันกับพื้นที่ในการถ่ายทอดเศรษฐกิจเชิงประสบการณ์สู่ความภักดีของนักท่องเที่ยวในเขตเศรษฐกิจพิเศษล้านนาตะวันออก. วารสารรัชต์ภาคย์, 18(60), 197-214.

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา และรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2557). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL (พิมพ์ครั้งที่ 3). เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

Ali, F., Ryu, K., & Hussain. (2015). Influence of experiences on Memories, Satisfaction and Behavioral Intentions: A Study of Creative Tourism. Journal of Travel & Tourism Marketing. DOI: 10.1080/10548408.2015.1038418.

Chen, P. T. (2022). Influence of film destination placement on travel intention: Mediating effect of involvement and place attachment. International Journal of Tourism Cities, 9(2), 411-428. https://doi.org/10.1108/IJTC-05-2022-0132

Di-Clemente, E., Hernandez-Mogollon, J. M., & Campon-Cerro, A. M. (2019). Food-based experiences as antecedents of destination loyalty. British Food Journal, 121(7), 1495-1507.

Hair, J. F., W. C. Black, et al. (2005). Multivariate Data Analysis. Person Prentice Hall.

Joreskog, K.G., & Sorborn, D. (1989). Advance in Factor analysis and Structural Equation model. Abt books.

Kahraman, O.C., & Cifci, I. (2023). Modeling self-identification, memorable tourism experience, overall satisfaction and destination loyalty: Empirical evidence from small island destinations. Journal of Hospitality and Tourism Insights, 6(2): 1001-1023.

Kim, J-H., & Ritchie, J.R.B. (2014). Cross-Cultural Validation of a Memorable Tourism Experience Scale (MTES). Journal of Travel Research, 51(1):12-25.

Kim, J. H. (2014). The antecedents of memorable tourism experiences: The development of a scale to measure the destination attributes associated with memorable experiences. Tourism Management, 44(1), 34-45.

Lee, Y. J. (2015). Creating memorable experiences in a reuse heritage site. Annals of Tourism Research, 55, 155-170. DOI: 10.1016/j.annals.2015.09.009

Ministry of Tourism & Sports, Thailand. (2024, January 19). Tourist Statistics 2023. https://www.mots.go.th/news/category/704

Pine, B.J., & Gilmore, J.H. (1999). The experience economy: Work is theatre and every business a stage. Harvard Business School Press.

tom Dieck, M. C., Jung, T. H., & Rauschnabel, P. A. (2018). Determining visitor engagement through augmented reality at science festivals: An experience economy perspective. Computers in Human Behavior, 82, 44-53.

Trinanda, O., Sari, Y., A., Cerya, E., & Riski, T., R. (2022). Predicting place attachment through selfie tourism, memorable tourism experience and hedonic well-being. International Journal of Tourism Cities, 8(2), 412-423.

Tsai, C., T. (2016). Memorable tourist experience and place attachment when consuming local food. International Journal of Tourism Research, 18(6), 536-548. https://doi.org/10.1002/jtr.2070

Zhang, H., Wu, Y., & Buhalis, D. (2018). A model of perceived image, memorable tourism experiences and revisiting intention. Journal of Destination Marketing and Management, 8(6): 326-336.

Zhou, Q., Pu., Y., & Su, C. (2022). The mediating role of memorable tourism experiences and destination image in the correlation between cultural heritage rejuvenation experience quality and revisiting intention. Asia Pacific Journal of Marketing and Logistics, 35(6), 1313-1329. https://doi.org/10.1108/APJML-11-2021-0829