ความพึงพอใจกิจกรรมปั่นจักรยานท่องเที่ยวในพื้นที่ตำบลบ้านด่านนาขาม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความพึงพอใจกิจกรรมปั่นจักรยานท่องเที่ยวในพื้นที่ตำบล บ้านด่านนาขาม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ผู้ให้ข้อมูลคือ นักปั่นจักรยาน
ผลการวิจัยพบว่า นักปั่นจักรยานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย เคยมีประสบการณ์ในการท่องเที่ยวตำบลบ้านด่านนาขาม มากกว่าสามครั้ง มีความพึงพอใจภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านความร่วมมือของชุมชน ในการจัดการท่องเที่ยว ด้านองค์กรในการจัดการและการบริหารการท่องเที่ยวมีความพึงพอใจมากที่สุด ส่วนด้านคุณค่าและความสำคัญ ด้านสิ่งดึงดูดใจนักท่องเที่ยว ด้านสภาพการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวและด้าน สิ่งอำนวยความสะดวก มีความพึงพอใจมาก
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาการจัดการและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์
บทความที่ลงตีพิมพ์ใน วารสารวิทยาการจัดการและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ถือว่าเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน คณะบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผู้เขียนที่ตีพิมพ์ ยอมรับเงื่อนไขต่อไปนี้:
- ผู้เขียนรักษาลิขสิทธิ์และให้สิทธิ์วารสารในการตีพิมพ์ครั้งแรกพร้อมกับผลงานที่ได้รับใบอนุญาตพร้อมกันภายใต้ Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) ที่อนุญาตให้ผู้อื่นแบ่งปันผลงานโดยรับทราบถึงผลงานของผู้เขียนและ การตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารนี้
- ผู้เขียนสามารถทำข้อตกลงเพิ่มเติมตามสัญญาแยกต่างหากสำหรับการเผยแพร่ผลงานฉบับตีพิมพ์ของวารสารแบบไม่ผูกขาด (เช่น โพสต์ลงในพื้นที่เก็บข้อมูลของสถาบันหรือตีพิมพ์ในหนังสือ) โดยรับทราบการตีพิมพ์ครั้งแรก ในวารสารนี้
- ผู้เขียนได้รับอนุญาตและสนับสนุนให้โพสต์ผลงานของตนทางออนไลน์ (เช่น ในคลังข้อมูลของสถาบันหรือบนเว็บไซต์) ก่อนและระหว่างขั้นตอนการส่งผลงาน เนื่องจากอาจนำไปสู่การแลกเปลี่ยนที่มีประสิทธิผล ตลอดจนการอ้างอิงงานที่ตีพิมพ์เร็วขึ้นและมากขึ้น
References
โชติพงษ์ บุญฤทธิ์. (2560). การพัฒนาเส้นทางจักรยานเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในเขตเทศบาลนครสงขลาโดยกระบวนการมีส่วนร่วม. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร. 14 (1). 198-227.
ธญรมณ จิรพิสัยสุข. (2558). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวไทยในเส้นทางการท่องเที่ยวโดยจักรยานจังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพ ฯ.
นัฏฐกฤติ นิธิประภา. (2564). บทวิเคราะห์สถานการณ์ MSME สาขาธุรกิจท่องเที่ยว ปี 2564 และแนวโน้มปี 2565. สืบค้น 6 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://www.sme.go.th/upload/mod_download/download-20211012232619.pdf.
ปุญยกร ขำเขียว. (2561). การประเมินเส้นทางจักรยานบริเวณพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชมงคลเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์. สืบค้น 3 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/123456789/910/rmutron1102_7.pdf?sequence=1&isAllowed=y.
รวีวรรณ วิโรจน์วรรณ. (2561). แนวทางในการพัฒนาเส้นทางการปั่นจักรยานสำหรับนักท่องเที่ยวบริเวณพื้นที่บางกระเจ้า อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 10(3). 96-109.
รุ่งรัตน์ วรรณะอยู่. (2563). องค์ประกอบการท่องเที่ยวปั่นจักรยานและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในการท่องเที่ยวปั่นจักรยาน : กรณีศึกษาธนบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพ ฯ
สุภาสพงษ์ รู้ทำนอง. (2561). การสำรวจและประเมินเส้นทางจักรยานปลอดภัย โดยการประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศและกระบวนการมีส่วนร่วม จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (สทมส.) 24(Special Issue). 114-134
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านด่านนาขาม. (2564). ข้อมูลทั่วไปและสภาพสังคม. สืบค้น 25 ธันวาคม 2561, จาก www.bdnk.go.th/condition.php.
อานุภาพ เกสรสุวรรณ์ และคณะ. (2557). คู่มือการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์กรสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.