ความสัมพันธ์ระหว่างความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน ความเหนื่อยหน่ายในงาน กับผลการปฏิบัติงานของนักกายภาพบำบัด
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับของความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน ความเหนื่อยหน่ายในงาน และผลการปฏิบัติงานของนักกายภาพบำบัด 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน ความเหนื่อยหน่ายในงาน กับผลการปฏิบัติงานของนักกายภาพบำบัด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน แบบสอบถามความเหนื่อยหน่ายในงาน แบบสอบถามผลการปฏิบัติงาน โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคของแบบสอบถาม มีค่าระหว่าง 0.91 - 0.97 กลุ่มตัวอย่างคือนักกายภาพบำบัดในประเทศไทยจำนวน 409 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเชิงส่วน ผลการวิจัยพบว่า 1) นักกายภาพบำบัดมีความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานโดยรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเหนื่อยหน่ายในงานโดยรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับน้อย มีผลการปฏิบัติงานโดยรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ความสมดุลของชีวิตและการทำงานมีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของนักกายภาพบำบัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ความเหนื่อยหน่ายในงานมีความสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานของนักกายภาพบำบัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย
ข้อความที่ปรากฎในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
เอกสารอ้างอิง
ฉัตรศิริ ปิยะมลสิทธิ์. (2548). ความเที่ยงตรง. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง ทฤษฎีการวัดและการทดสอบ.
สงขลา : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ฐานิตา สิงห์ลอ. (2563). ความสมดุลในชีวิตการทำงานของพนักงานการประปาส่วนภูมิภาคเขต 3.
วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ดลปภัฎ ทรงเลิศ, เรณุการ์ ทองคำรอด และกุญชร เจือตี๋. (2560). ความสัมพันธ์ของทุนทางจิตวิทยา เชิงบวก
และความผูกพันต่อองค์การต่อผลการปฏิบัติงานของอาจารย์พยาบาลในวิทยาลัยพยาบาลบรมราช
ชนนีภาคใต้. Humanities and Social Sciences Journal, Ubon Ratchathani Rajabhat University, 8(2), 27-43.
ทิพย์สิริ กาญจนวาสี และศิริชัย กาญจนวาสี. (2559). วิธีวิทยาการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิศาชล โทแก้ว, สุธนา บุญเหลือ และภูริศร์ พงษ์เพียจันทร์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างความสมดุลชีวิตใน
การทำงานกับผลการปฏิบัติงานของผู้จัดการแผนกต้อนรับส่วนหน้าธุรกิจโนงแรมในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 33(2),
-172.
ปริณดา สมควร. (2557). ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของ
ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการอำนวยการ สำนักงานตรวจคนเขาเมือง. สารนิพนธ์
รัฐประศาสนศาสตร์.มหาวิทยาลัยเกริก.
ปวิชยา สีมาวงษ์. (2565). ความเหนื่อยหน่ายในการทำงานและความยึดมั่นผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร คณะ
สาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์สถาบันพระบรมราชชนก. วิทยานิพนธ์เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปัทมาวรรณ จินดารักษ์และ สายสุนีย์ เกษม. (2562). สมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานกับความหลากหลาย
ของกลุ่มวัย. วารสารนักบริหาร, 39(1), 3-11.
ผดารัช สีดา. (2555). อิทธิพลของแหล่งทรัพยากรที่เอื้อต่องานและข้อเรียกร้องในงานต่อความพึงพอใจในงาน
ของพนักงาน โดยมีความผูกใจมั่นในงานและความเหนื่อยหน่ายในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน. สืบค้น 17
มกราคม 2566, จาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45181
พิชิต เทพวรรณ์. (2554). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2547). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร.
สภากายภาพบำบัด. (2560). แผนยุทธศาสตร์สภากายภาพบำบัด ปี 2560-2569. สิงหาคม 2560
สุวรรณา ม่วงงาม. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างการมองโลกในแง่ดี การรับรู้ความสามารถของตนและผลการ
ปฏิบัติงานของวิศวกร : กรณีศึกษากลุ่มบริษัทแห่งหนึ่ง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เหมือนขวัญ จรงค์หนู และนนทิรัตน์ พัฒนภักดี. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะหมดไฟและประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัย. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์
ประยุกต์. 13(2), 48-61
อมรรัตน์ แก้วทวี และ อารีย์วรรณ อ่วมตานี. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างสมดุลชีวิตกับการทำงาน
บรรยากาศความปลอดภัยในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กร. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3),
-320.
Berry, J. W. (1997). Immigration, acculturation, and adaptation. Applied psychology, 46(1),
-34.
Christiana, O. O., & Ogbogu, O. (2013). Work-Family role conflict among academic women in
Nigerian Public Universities. In International Academic Conference Proceedings.
Cronbach, L. J. (1949). Essentials of psychological testing. (n.p.).
Delamotte, Y., & Takezawa, S. I. (1984). Quality of work life in International Laboure Office.
Greenhaus, J. H., Collins, K. M., & Shaw, J. D. (2003). “The relation between work-family
balance and quality of life.” Journal of Vocational Behavior 63(3): 510-531.
Iacobucci, D. & Duhachek, A. (2003). “Advancing Alpha: Measuring Reliability with
Confidence.” Journal of Consumer. 13(4), 478-487.
Johari, J., Tan, F. Y., & Zulkarnain, Z. I. T. (2018). Autonomy, workload, work-life balance and
job performance among teachers. International Journal of Educational Management.
(1), 107-120.
Maslach, C., & Jackson., S. E. (1981). The measurement of experienced burnout. Journal of
Organizational Behavior. 2(2), 99-113.
Maslach, C., & Leiter, M. P. (2006). Burnout. Stress and quality of working life: current
perspectives in occupational health. 37, 42-49.
Mcconnell, E. A. (Ed.). (1982). Burnout in the nursing profession: Coping strategies, causes,
and costs. Mosby Incorporated.
Muldary, T. W. (1983). Burnout among health professionals: Manifestations and
management. Appleton-Century-Crofts.
Puhanic, P., Eric, S., Talapko, J., & Skrlec, I. (2022). Job satisfaction and burnout in Croatian
physiotherapists. In Healthcare. 10(5), 905.
Simendinger, E. A., & Moore, T. F. (1985). Organizational burnout in health care facilities:
Strategies for prevention and change. Aspen Publishers.
Sliwinski, Z., Starczynska, M., Kotela, I., Kowalski, T., Krys-Noszczyk, K., Lietz-Kijak, D., &
Makara-Studzinska, M. (2014). Burnout among physiotherapists and length of service. International journal of occupational medicine and environmental health, 27, 224-235
Walton, R. (1973). Quality of Work life Indicators-Prospects and Problems-A Portugal
Measuring the Quality of working life. Ottawa. 1(1), 57-70.
Werther, W. B., & Davis, K. (1989). Human resources and personnel management. Harper San
Francisco.