ประสบการณ์โอบกอดใจตนเองของนิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ที่มีภาวะหมดไฟช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์โอบกอดใจตนเองของนิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษาที่มีภาวะหมดไฟช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพเชิงปรากฏการณ์วิทยาของจีออจี ผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตนักศึกษาหญิงที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 5 รายที่มีภาวะหมดไฟช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์รายบุคคล ผลการวิจัยพบว่า ประสบการณ์โอบกอดใจตนเองของนิสิตนักศึกษาที่มีภาวะหมดไฟช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 มี 3 ประเด็นหลัก ดังนี้ (1) การพักใจและทำกิจกรรมที่ช่วยเพิ่มความกระตือรือร้น เพื่อการเริ่มต้นสิ่งที่ตนเองกำลังรับผิดชอบอีกครั้งด้วยความสดชื่น (2) การแสวงหากำลังใจ พลังใจจากครอบครัว กลุ่มเพื่อน เพื่อนร่วมงานที่ตนสามารถแบ่งปันความรู้สึกและประสบการณ์ต่าง ๆ ร่วมด้วยได้ (3) การรับมือกับสถานการณ์ชีวิตที่ทำให้หมดไฟ พัฒนาทักษะการบริหารจัดการเวลา ให้ความสำคัญกับการบริหารตนเองและการใส่ใจดูแลตนเอง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย
ข้อความที่ปรากฎในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
รายการอ้างอิง
ชลิตา สุนันทาภรณ์. (2563). COVID-19 คาดเด็ก 363 ล้านคนได้รับผลกระทบจากการหยุดเรียน. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2563, จาก https://thepotential.org/social-issues/covid19-school-closures/
ช็อก! โควิด ทำเด็กไทยเครียด หมดไฟเรียนหนังสือ สูงกว่าผู้ใหญ่ 3 เท่า. (2564). ข่าวสดออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2564, จาก https://www.khaosod.co.th/covid-19/news_6662028
ณิชากร ศรีเพชรดี. (2563). โรงเรียนอาจไม่เหมือนเดิม: 3 ประเด็นที่ต้องตาม โคโรน่าไวรัสทำให้การศึกษาเปลี่ยนไปอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2563, จาก https://thepotential.org/social-issues/coronavirus-pandemic-could-reshape-education/
ธัญวัฒน์ อิพภูดม. (2561). เรียนไม่ไหว กลัวทำวิจัยไม่ผ่าน : ชีวิตแสนกดดันของคนเรียนปริญญาโท-เอก. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561, จาก https://thematter.co/social/post-graduate-life-depression/50364?utm_source=LINE&utm_medium=Content%20Discovery&utm_campaign=LINE%20TODAY
นิตยาภรณ์ มงคล. (2562). ภาวะหมดไฟในการทำงาน (burnout syndrome). กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. สืบค้นเมื่อ 23 ตุลาคม 2562, จาก https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=2270
Andrade, D., Ribeiro, I. J. S., Prémusz, V., & Maté, O. (2023). Academic Burnout, Family Functionality, Perceived Social Support and Coping among Graduate Students during the COVID-19 Pandemic. International journal of environmental research and public health, 20(6), 4832. Retrieved from https://doi.org/10.3390/ijerph20064832
Arbabisarjou, A., Mehdi, H. S., Sharif, M. R., Alizadeh, K. H., Yarmohammadzadeh, P., & Feyzollahi, Z. (2016). The relationship between sleep quality and social intimacy, and academic burn-out in students of medical sciences. Global Journal of Health Science, 8(5), 231-238.
Carver, C. S., Scheier, M. F., & Weintraub, J. K. (1989). Assessing coping strategies: A theoretically based approach. Journal of Personality and Social Psychology, 56, 267-283.
Coronavirus disease (COVID-19): How is it transmitted?. (2020, 13 December). World Health Organization. Retrieved from https://www.who.int/news-room/questions-and-answers/item/coronavirus-disease-covid-19-how-is-it-transmitted
Evans, T. M., Bira, L., Gastelum, J. B., Weiss, L. T., & Vanderford, N. L. (2018). Evidence for a mental health crisis in graduate education. Natural Biotechnology, 36, 282-284.
Giorgi, A., Giorgi, B. and Morley, J. (2017). The Descriptive Phenomenological Psychological Method. In C. Willig, W. Stainton Rogers (Eds.), The Sage Handbook of Qualitative Research in Psychology (2nd ed., pp. 176-192). Thousand Oaks: Sage.
Gross, J. J. (1998). Antecedent- and response-focused emotion regulation: Divergent consequences for experience, expression, and physiology. Journal of Personality and Social Psychology, 74(1), 224-237.
Gündoǧan, S., & Seçer, İ. (2022). Coping with School Burnout. Psikiyatride Guncel Yaklasimlar, 14(3), 331-339.
Kirikkanat, B. (2023). COVID-19 Related Stress and Life Satisfaction in Turkish Undergraduates: A Serial-Parallel Mediation Model. European Journal of Psychology and Educational Research, 6(1), 23-31.
Koropets, O., Fedorova, A., & Kacane, I. (2019). Emotional and academic burnout of students combining education and work. In EDULEARN19 Proceedings (pp. 8227-8232). IATED.
Lazarus, R. S., & Folkman, S. (1984). Stress, appraisal, and coping. New York: Springer.
Schaufeli, W. B., Desart, S., & De Witte, H. (2020a). Burnout Assessment Tool (BAT)—development, validity, and reliability. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(24), 9495.
Schaufeli, W. B., De Witte, H., & Desart, S. (2019). Manual Burnout Assessment Tool (BAT). KU Leuven, Belgium.
Schaufeli, W. B., De Witte, H., Desart, S., O’Reilly, J., Robinson, J. L., Berdahl, S. L., & Banki, S. (2020b). Part II: Happiness. Thriving Mind: How to cultivate a good life, 2, 31-113.
Tam, G., & El-Azar, D. (2020, 13 March). 3 ways the coronavirus pandemic could reshape education. World Economic Forum. Retrieved from https://www.weforum.org/agenda/2020/03/3-ways-coronavirus-is-reshaping-education-and-what-changes-might-be-here-to-stay
Thompson, R. A. (1994). Emotion regulation: A theme in search of definition. Monographs of the Society for Research in Child Development, 59 (2/3), 25–52.