สุคนธบำบัด ศิลปะจากธรรมชาติเพื่อผ่อนคลายจิตใจผ่านอายตนะ

ผู้แต่ง

  • อำไพ ลีละรัตนวงศ์ นิสิตปริญญาเอกพุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สิริวัฒน์ ศรีเครือดง รองศาสตราจารย์ ดร., รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

สุคนธบำบัด, อายตนะ, ศิลปะจากธรรมชาติ

บทคัดย่อ

        บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการบำบัดด้วยวิธีธรรมชาติซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่มีมาแต่สมัยโบราณเมื่อหลายพันปี ก่อนการแพทย์สมัยใหม่จะมีบทบาทเหมือนเช่นปัจจุบัน เน้นการศึกษาถึงที่มาของการใช้น้ำมันหอมระเหย วิวัฒนาการ และการนำไปใช้ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาข้อมูลของชนิด รูปแบบ และหลักการทำงานของน้ำมันหอมระเหยต่อระบบสมองในการช่วยผ่อนคลายภาวะต่าง ๆ เช่น ภาวะซึมเศร้า และช่วยผ่อนคลายความเมื่อยล้า เพื่อนำมาหาความเป็นไปได้ในการนำมาใช้แทนการรักษาด้วยยา ซึ่งก่อให้เกิดผลข้างเคียงต่อผู้รับการรักษา สอดคล้องกับทางพุทธศาสนา ได้เปรียบการรับรู้ความทุกข์และสิ่งต่าง ๆ รอบตัวผ่าน อายตนะ ซึ่งตรงกับประสาทสัมผัสทั้ง 5 เช่นกัน การนำ Aromatherapy มาใช้ผ่านประสาทสัมผัสต่าง ๆ โดยเฉพาะ “คันธะ” หรือทางการสูดดม ซึ่งเป็นวิธีที่ได้ผลและสามารถนำมารักษาผู้ป่วยที่มีอาการซึมเศร้าได้ ดังนั้น อโรม่าเทอราพี จึงสามารถนำมาเป็นทางเลือกในการบำบัดรักษาโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยได้ สามารถนำมาเป็นทางเลือกทางการแพทย์ ที่มีต้นทุนไม่สูงและสามารถนำไปใช้ได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเป็นวิธีทางธรรมชาติ   

References

จำรัส เซ็นนิล. (2546). “หอมระเหย...ศาสตร์แห่งการบำบัด”. กรุงเทพฯ : มรดกสยาม.

ดุษฎี อุดมอิทธิพงศ์, กฤตนัย แก้วยศ, และเกยูรมาศ อยู่ถิ่น. (2561). “น้ำมันหอมระเหยกับการทำงานของระบบ

ประสาทและความรู้สึกทางอารมณ์”. วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. 12 (2), 51-52.

ไทยเกษตรศาสตร์. (2011). 12 วิธีการใช้ประโยชน์จากน้ำมันหอมระเหย. สืบค้น 5 มีนาคม 2564 จาก

https://www.thaikasetsart.com/12-วิธีการใช้ประโยชน์จาก/

นิภา จันทิชัย. (2560). “การสู่ขวัญในประเทศไทย”. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตบัณฑิต สาขาวิชาภาษา

และวรรณกรรมไทย). มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.

พงษ์ศักดิ์ จิตตบุตร และคณะ. (2562). ระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใช้แกลบเป็นเชื้อเพลิง.

วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 4(2), 67

ไพบูลย์ เทวรักษ์. (2532). จิตวิทยา ศึกษาพฤติกรรมภายนอกและภายใน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร:

ศรีมงคลการพิมพ์.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รุจินาถ อรรถสิษฐ. (2548). ขวัญ : ขวัญชีวิตของคนไทย. นนทบุรี: กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและ การ

แพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข.

เศรษฐศาสตร์ วัตรโศก. (2020). ขวัญ กับความเชื่อของชาวอีสาน. สืบค้น 10 มีนาคม 2564 จาก

https://theisaanrecord.co/2020/10/23/spirit-and-belief-in-isaan/

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์. (2561). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 41).

กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.

สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. สัมมาทิฏฐิ 37 อายตนะเป็นปัจจัยให้เกิดผัสสะ. สืบค้น 17 มกราคม

จาก https://sites.google.com/site/smartdhamma/xaytna-pen-paccay-hi-keid-phass-a

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. บายศรีภาคเหนือ. สืบค้น 10 มีนาคม 2564 จาก

https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=38&chap=2&page=t38-2-

infodetail05.html

อารยธรรมคนลุ่มแม่น้ำโขง. (2559). การส่อนขวัญ. สืบค้น 10 มีนาคม 2564 จาก

http://ourmaekong.blogspot.com/2016/09/blog-post_6.html

อิงอร จุลทรัพย์. (2556). “บททำขวัญ : วิถีคนสยามในมาเลเซีย”. วารสารปาริชาต. 25(2), 54.

อุมารินทร์ ตุลารักษ์. (2544). บททำขวัญเรือและพิธีทำขวัญเรือของชายไทยภาคใต้ : การสร้างสรรค์และการ

ถ่ายทอด. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต ). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

AromaWeb. “History of Aromaterapy”. Retrieved March 10, 2021 from

https://www.aromaweb.com/articles/history.asp

Health. (2019). รู้ลึก 7 กลิ่นหอมจาก "น้ำมันหอมระเหย" บำบัดสุขภาพกายใจ". สืบค้น 5 มีนาคม 2564 จาก

https://www.thairath.co.th/women/beauty/health/1534693

Marlynn Wei M.D., J.D. (2016). Six Aromatherapy Essential Oils for Stress Relief and Sleep.

Retrieved April 2, 2021 from https://www.psychologytoday.com/us/blog/urban-

survival/201604/six-aromatherapy-essential-oils-stress-relief-and-sleep

Mayo clinic, Depression Treatment. Retrieved April 2, 2021 from

https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/depression/diagnosis-treatment/drc-

Rama Channel. (2018). จมูกไม่ได้กลิ่นความผิดปกติที่คุณอาจเป็นได้. สืบค้น 5 มีนาคม 2564 จาก

https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/article/ จมูกไม่ได้กลิ่น-ความผิด/

Sánchez-Vidaña, D. I., Ngai, S. P. C., He, W., Chow, J. K. W., Lau, B. W. M., & Tsang, H. W. H.

(2017). "The Effectiveness of Aromatherapy for Depressive Symptoms: A Systematic

Review", Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine, vol. 2017, 21.

https://doi.org/10.1155/2017/5869315

The American Psychiatric Association (APA) (2020), “What is depression”. Retrieved March 5,

from https://www.psychiatry.org/patients-families/depression/what-is-depression

Valencia Higuera. (2020). Everything You Want to Know About Depression. Retrieved March 5,

from https://www.healthline.com/health/depression

Urban Creature. (2019). กลิ่นของความรัก กลิ่นของความหวัง กลิ่นของความทรงจำ. สืบค้น 10 มีนาคม 2564

จาก https://urbancreature.co/scent-of-memory/

เผยแพร่แล้ว

2022-02-04

How to Cite

ลีละรัตนวงศ์ อ. ., & ศรีเครือดง ส. . (2022). สุคนธบำบัด ศิลปะจากธรรมชาติเพื่อผ่อนคลายจิตใจผ่านอายตนะ. วารสารจิตวิทยาแห่งประเทศไทย, 19(1), 55–67. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/JPsychol/article/view/385