การตีความถ้อยคำ “... การกระทำเช่นนั้นไม่เป็นความผิดต่อไป...” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 วรรคสองของศาลฎีกา : ข้อโต้แย้งในทางวิชาการ

ดร.สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์

ผู้แต่ง

  • หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

บทคัดย่อ

หลักไม่มีความผิด ไม่มีโทษ โดยไม่มีกฎหมาย เป็นหลักกฎหมายที่ได้รับการยอมรับทั้งในระบบ ซีวิลลอว์และคอมมอนลอว์ แม้จะมีข้อแตกต่างในรายละเอียดบางประการ อย่างไรก็ตาม ในบทความชิ้นนี้ ผู้เขียนหยิบยกคำพิพากษาศาลฎีกาไทยเรื่องหนึ่งขึ้นมาเป็นตัวอย่างในการวิเคราะห์เพื่อแสดงให้เห็นว่าศาลฎีกาของไทยแปลความกฎหมายในเรื่องดังกล่าว ไม่สอดคล้องกับแนวคิดของหลัก ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ โดยไม่มีกฎหมาย โดยใช้หลักกฎหมายเยอรมันเป็นแนวทางในการวิเคราะห์


คำสำคัญ: ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ โดยไม่มีกฎหมาย หลักความชอบด้วยกฎหมาย กฎหมายอาญาไม่มีผล
ย้อนหลัง

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-08-2022

How to Cite

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ห. (2022). การตีความถ้อยคำ “. การกระทำเช่นนั้นไม่เป็นความผิดต่อไป.” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 วรรคสองของศาลฎีกา : ข้อโต้แย้งในทางวิชาการ: ดร.สุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน์. วารสารนิติศาสตร์ศรีปทุมปริทัศน์, 7(1), 28. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/Lawllmjournal/article/view/1764