การจัดการตนเอง: ทักษะในการพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • กรรณิการ์ แสนสุภา ภาควิชาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • นเรศ กันธะวงค์ สาขาวิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

คำสำคัญ:

การจัดการตนเอง, จิตวิทยา, การพัฒนาตนเอง

บทคัดย่อ

การจัดการตนเอง เป็นทักษะที่สำคัญในการพัฒนาตนเองในหลากหลายสถานการณ์และการจัดการตนเองมีความสัมพันธ์กับการประสบผลสำเร็จในชีวิตการเสริมสร้างทักษะการจัดการตนเองด้วยหลักการทางจิตวิทยาจะทำให้บุคคลได้สำรวจและเข้าใจในตนเองอย่างแท้จริง สามารถกำกับอารมณ์ พฤติกรรม และความรู้สึกนึกคิดของตนเองให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น ทำให้บุคคลดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข เห็นคุณค่าในตนเองและสามารถจัดการกับอารมณ์และพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้ บทความนี้ได้นำเสนอการนำเอาหลักการทางจิตวิทยามาประยุกต์ใช้เพื่อให้บุคคลเกิดทักษะการจัดการตนเอง โดยเริ่มด้วยการประเมินตนเอง การตั้งเป้าหมาย การกำกับตนเอง และการประมาณตนเอง ภายใต้ความสามารถและศักยภาพที่มีอยู่ในตัวของแต่ละบุคคลอันเป็นแนวทางหนึ่งในการพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืนต่อไป

References

บุญเชิญ หมู่มาก. (2559). การพัฒนาหลักสูตรแนะแนวเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดการตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน.คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ. (2556). จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาตน. กรุงเทพมหานคร:ห้างหุ้นส่วนจำกัด เจ.เอส.พริ้นติ้ง.

สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2556). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อดุล นาคะโร. (2551). การพัฒนาหลักสูตรเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดการตนเองโดยใช้กิจกรรมแนะแนวสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Berger, Donna. (2000). Policy Brief: Self-management Across the Curriculum: A Holistic Model for Student, Faculty, and Staff Development.

Retrieved May 10, 2021, from https://www.researchgate.net/publication/242711223_Policy_Brief_Self-management_Across_the_Curriculum_A_Holistic_Model_for_Student_Faculty_and_ Staff_Development

Frayne CA, Geringer JM. (2000). Self-management training for improving job performance: A field experiment involving salespeople. Journal of Applied Psychology; 85(3): 361.

Gerhardt, Megan W. (2010). Individual Self-Management Training in Management Education. Retrieved May 10, 2021, from https://www.

researchgate.net/publication/ 268425764_Self-Management_Tutorials_Individual_Self-Management_Training_in_ Management_Education

Gerhardt, Megan W.; Rode, Joseph C. & Peterson, Suzanne J. (2007). Exploring Mechanisms in the Personality-Performance Relationship: Mediating Roles of Self-management and Situational Constraints. Journal of Personality and Individual Differences. 43(6): 1344-1355.

Kanfer, F. H. (1991). Self-management methods. In F.H., Kanfer & A. Goldstien, (Eds.) Helping People Change : A textbook of Methods.

New York: Pergamon.

Maslow, H. A. (1965). A philosophy of psychology: The need for a mature science of human nature. In Severin, R. (Ed.), Humanistic viewpoints in Psychology. New York, NY: McGraw

O’Keefe Edward J. and Berger Donna S. (1999). Self-management for College Student. New York: Partridge Hill Publishers.

Paulauskas, Stasys & Paulauskas, Alexsandras. (2008). The Virtualics and Strategic Self-management as Tools for Sustainable Development.

Technological and Economic Development of Economy. 14(1): 76-88.

Richard W. Robins and Kari H. Trzesniewski. (2019). Self-Development A cross the Life span. Retrieved May 10, 2021, from https;//scholarship.org2uc2item29bc5r8nd.

Yates BT. (1986). Applications in self-management. Belmont, CA: Wadsworth Publishing Company

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30