แนวคิดทุนปัญญา: การพัฒนาสำนักงานบริการด้านวิชาชีพบัญชีไทย
คำสำคัญ:
สำนักงานบริการด้านวิชาชีพบัญชี, ทุนมนุษย์, ทุนสังคม, ทุนโครงสร้าง, ทุนจิตวิญญาณบทคัดย่อ
การศึกษารูปแบบการพัฒนาสำนักงานบริการด้านวิชาชีพบัญชีในไทยที่จะสามารถดำเนินงานด้านวิชาชีพให้ประสบความสำเร็จและยั่งยืนได้ด้วยแนวคิดทุนปัญญา ซึ่งประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนโครงสร้างและทุนจิตวิญญาณ การนำทุนปัญญามาใช้ในการดำเนินการและการบริหารจัดการในสำนักงานบริการด้านวิชาชีพบัญชี โดยเริ่มจากบุคลากรในองค์กรที่ทำงานอย่างมีคุณภาพ (ทุนมนุษย์) มีการแลกเปลี่ยนแนวทางปฏิบัติที่มีคุณภาพระหว่างบุคลากรภายในองค์กร (ทุนสังคม) ภายใต้การดูแลและควบคุมของบุคลากรทุกระดับในองค์กรที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน (ทุนโครงสร้าง) ถ่ายทอดความรู้ที่ดีให้กับองค์กรอื่น ๆ ที่จะสามารถนำไปใช้และก่อให้เกิดประโยชน์ได้จริง (ทุนจิตวิญญาณ) หากสำนักงานบริการด้านวิชาชีพบัญชีในไทยได้นำทุนปัญญามาปรับใช้กับองค์กรของตนจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพให้เป็นที่ยอมรับ และประสบความสำเร็จในการดำเนินงานทางวิชาชีพบัญชีได้
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2558). ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับรองคุณภาพสำนักงานบัญชี พ.ศ. 2558[ออนไลน์], ค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2564, จาก: https://www.dbd.go.th/download/account_file/dbd_law_account_office2558.pdf
______ . (2562). รายชื่อสำนักงานบัญชีคุณภาพในเขตกรุงเทพมหานคร[ออนไลน์], ค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2564. จาก: https://www.dbd.go.th/more_news.php?cid=441
______ . (2562). สถิติของผู้ทำบัญชี[ออนไลน์], ค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2564. จาก: https://www.dbd.go.th/more_news.php?cid=433
______ . (2564). หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับรองคุณภาพสำนักงานบัญชี พ.ศ.2564 [ออนไลน์], ค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2564. จาก: https://www.dbd.go.th/news_view.php?nid=469420467
ชลิดา ลิ้นจี่, กนกมณี หอมแก้ว และสุภาพร บุญเอี่ยม. (2563). ความรู้และทักษะวิชาชีพของนักบัญชีสำนักงานบัญชีคุณภาพในประเทศไทย. วารสารศิลปการจัดการ. 4(1), 34-45.
ฐิติธร ผิวทองงาม และกนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มศักยภาพของบุคลากรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินเกี่ยวกับความรู้ทางด้านบัญชีเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC). วารสารคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 10(2): 71-88.
ณัฐชา วัฒนวิไล และจุฑามน สิทธิผลวนิชกุล. (2555). การพัฒนาศักยภาพวิชาชีพบัญชีไทยเมื่อเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ. วารสาร
นักบริหาร, 32(3): 16 – 25.
นิพัฒน์ ชัยวรมุขกุล. (2558). ทุนทางปัญญา พัฒนาองค์กรไม่ง้อเงิน (Intellectual Capitual). กรุงเทพฯ: บริษัท เอช อาร์ เซ็น
เตอร์ จำกัด.
บุญฑวรรณ วิงวอน และชุติมันต์ สะสอง (2559). อิทธิพลของความเป็นผู้ประกอบการองค์การ ทุนทางปัญญาและความร่วมมือของสมาชิกที่มีต่อผลการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในภาคเหนือตอนบน 1 ของประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น,10(4): 145-160.
บุญเลิศ กมลชนกกุล. (2560). นักบัญชีวิชาชีพอาเซียน. วารสาร CPD & Account,14(163): 15-18.
ภิญโญ รัตนาพันธุ์. (2555). สร้างความได้เปรียบ เพื่อไม่เอาเปรียบ. Appreciative Inquiry. GotoKnow.[ออนไลน์], ค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2560. จาก https://www.gotoknow.org/posts/510317
มาราศรี มีโชค และอมรรัตน์ วัฒนาธร. (2554). ทุนทางปัญญากับการพัฒนาเด็กไทย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 13(2), 139-148.
วนิดา สุวรรณนิพนธ์. (2560). ศักยภาพทุนมนุษย์และความสามารถเชิงพลวัตของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ไทยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. Veridian E-Journal,Silpakorn University,10(3): 1-20.
สันทนา วิจัตรเนาวรัตน์. (2557). ต้นทุนทางจิตวิญญาณของความฉลาดทางจิตวิทยา.
สมบัติ กุสุมาวลี. (2553). ทุนความสร้างสรรค์มาจากคนสร้างสรรค์และสังคมที่สร้างสรรค์. for Quality,16(149): 101-104.
สมศรี เวิ่นทอง. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างเชาวน์จิตอัจฉริยะกับศักยภาพของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม,6(2): 310-323.
อารีรัตน์ สมานดุษณี, ปีย์วรา พานิชวิทิตกุล และดาระณี สุรินทรเสรี. (2564). แนวทางการส่งเสริมสำนักงานบัญชีเป็นสำนักงานบัญชีคุณภาพในจังหวัดสุรินทร์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์,13(1): 71-89.
Bontis, N. & Girardi, J. (1998). Teaching Knowledge Management and Intellectual Capital Lessons : an Empirical Examination of the Tange Simulation. 3rd World Conress on Intellectual Capital, McMaster University, Canada.
Chatzkel, J. (2004). Greater Phoenix as a knowledge capital. Journal of Knowledge Management, 8(5): 61–72.
Daft, R. L. & K. E. Weick. (1984). Toward a Model of Organizations as Interpretation Systems. Academy of Management Review, 9(2): 284-295.
David, A. & Michele, W. (2013). Clarifying the Concept of Spiritual Capital. The Chinese University of Hong Kong, 10-13 July 2013.
Edvinsson, L. & Malone, M. S. (1997). Intellectual Capital. London: Piatkus.
Fitz-Enj, J. (2000). The ROI of human capital. American management Association, New York: pp. 20 – 22.
Irina Berzkalnea, I. & Elvira Zelgalvea, E. (2013). Intellectual capital and company value. Procedia - Social and Behavioral Sciences 110 ( 2014 ) 887 – 896.
Philip, K. & Stephen, P. (2001). Accounting, empirical measurement and intellectual capital. Journal of Intellectual Capital,2(3): 246-260.
Rezvan, Z. & Karim, R. (2016) The survey of the effect of intellectual capital on the financial statement reporting acceleration in the companies accepted in Tehran’s securities exchange market. International Journal of Humanities and International Cultural Studies: 2082-2089.
Rossiter, A. (2006). Developing spiritual intelligence. New York: O Books.
Youndt, M. (2000). Human Resource configurations and value creation: The mediating role of intellectual capital. Paper presented at the 2000 Academy of Management Conference, Toronto, Ontario, Canada.
Zohar, D., & Marshall, I. (2004). Spiritual Capital. Berrett-Koehler Publishers, Inc., California.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาตของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เว้นแต่จะได้รับอนุญาติเป็นอย่างอื่น