ผลของน้ำยาบ้วนปากผสมสมุนไพรต่อความพึงพอใจในการลดกลิ่นปาก
คำสำคัญ:
กลิ่นปาก, น้ำยาบ้วนปากผสมสมุนไพรบทคัดย่อ
น้ำยาบ้วนปากผสมสมุนไพรถูกนำมาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหากลิ่นปาก ซึ่งแต่ละชนิดมีส่วนผสมแตกต่างกัน น้ำยาบ้วนปากผสมสมุนไพรสูตรกระชายของมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร เป็นที่นิยมแพร่หลาย ทางกลุ่มวิจัยจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ ต้องการวัดระดับความพึงพอใจต่อการใช้น้ำยาบ้วนปากชนิดนี้ โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 ราย ที่ไม่มีโรคประจำตัวและมีการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างสม่ำเสมอ บ้วนน้ำยาและประเมินผลความพึงพอใจโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างพึงพอใจต่อความสดชื่นหลังใช้มากที่สุด และพึงพอใจต่อรสชาติของน้ำยาบ้วนปากน้อยที่สุด ซึ่งผลที่ได้จากการศึกษาอาจขยายต่อไปสู่การพัฒนาสูตรตำรับ และการตัดสินใจเลือกใช้น้ำยาบ้วนปากผสมสมุนไพรในระยะยาวต่อไป
References
Bosy A. Oral malodor: philosophical and practical aspects. J Can Dent Assoc 1997; 63: 196-201.
De Boever EH, Loesche WJ. Assessing the contribution of anaerobic microflora of the tongue to
oral malodor. J Am Dent Assoc. 1995; 126: 1384-93.
De Geest S, Laleman I, Teughels W, Dekeyser C, Quirynen M. Periodontal diseases as a source
of halitosis: a review of the evidence and treatment approaches for dentists and dental hygienists. Periodontol 2000-2016; 71: 213-27.
Kumbargere NS, Eachempati P, Uma E, Singh VP, Ismail NM, Varghese E. Interventions for
managing halitosis. Cochrane Database of Systematic Reviews 2019; 1: 27.
Lee SS, Zhang W, Li Y. Halitosis update: a review of causes, diagnoses, and treatments. J Calif
Dent Assoc 2007; 35: 264-8.
Loesche WJ, Kazor C. Microbiology and treatment of halitosis. Periodontology 2000. 2002; 28:
-79.
López JP, Henarejas HJL, Saura PM, Camacho AF. Pilot study to assess effectiveness of
different mouthwashes for the treatment of oral halitosis. Avances en Odontoestomatología 2003; 19(6): 275-82.
Nachnani S, Clark GT. Halitosis: a breath of fresh air. Clin Infect Dis 1997; 25(Suppl 2): S218-9.
Porter, S.R., Scully, C. Oral malodour (halitosis). BMJ 2006; 632–635.
Tewtrakul S, Subhadhirasakul S. Effects of compounds from Kaempferia parviflora on nitric
oxide, prostaglandin E2 and tumor necrosis factor-alpha productions in RAW264.7 macrophage cells. J Ethnopharmacol 2008; 120: 81-4.
Torrungruang K, Vichienroj P, Chutimaworapan S. Antibacterial activity of mangosteen pericarp
extract against cariogenic Streptococus mutans. CU Dent J. 2007; 30: 1-10.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครวารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาตของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เว้นแต่จะได้รับอนุญาติเป็นอย่างอื่น