ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทุนมนุษย์ในยุค Digital Disruption
บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้เป็นบทความวิชาการที่มุ่งประเด็นการนำเสนอเนื้อหาสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาทุนทางสังคมเป็นเรื่องสำคัญในการพัฒนาคนและสังคมไทยให้สามารถก้าวสู่สังคมฐานความรู้ (Knowledge-Base Society) การรู้เท่าทันท่ามกลางสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งวิกฤตการณ์โรคระบาด COVID-19 ที่ยังระบาดอยู่ในปัจจุบันส่งผลกระทบกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำของประเทศ รวมทั้งความท้าทายการจัดการศึกษาในยุค Digital Disruption ของผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัล และสร้างกลยุทธ์ใหม่ๆ มาเป็นวิธีการเชิงรุก เพื่อเอาชนะวิกฤตและอุปสรรคต่างๆ ในยุค Digital Disruption ให้สำเร็จ โดยใช้ศาสตร์พระราชา มาประยุกต์ใช้ในการบริหารการศึกษาซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการที่สำคัญในการพัฒนาทุนมนุษย์
References
เกษม วัฒนชัย. (2550). เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา, 5(2): 155-156.
คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 - 2580 (ฉบับประกาศราชกิจจานุเบกษา) [ออนไลน์]. จาก : http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/082/T_0001.PDF
ชัชวาล โอสถานนท์. (2563). การปรับตัวของมหาวิทยาลัยเพื่อตอบโจทย์การเปลี่ยนแปลงในยุค Disruption. กรุงเทพฯ: กองบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
ธนพล ก่อฐานะ. (2563). Mindset of Innovator vs Crisis:. นนทบุรี: บริษัทลีโอซ่า จำกัด.
ธนันธร มหาพรประจักษ์. (2563). ฟอรั่มเศรษฐกิจโลกกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ 9 พฤษภาคม 2564. จาก:https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_17Feb2020.aspx.
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2561). การพัฒนากลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูง สำหรับประเทศไทย 4.0. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ. (2562). ทำไมไอน์สไตน์จึงพูดว่า จินตนาการสำคัญกว่าความรู้? [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ 2 มิถุนายน 2564.จาก: https://www.matichonweekly.com/column/article_224277
สุนันท์ ศลโกสุมและไพฑูรย์ โพธิสาร. (2561). ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาการศึกษา, วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ฉบับเสริม ครบรอบ 12 ปี (ธันวาคม 2561), 9-21.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
หอการค้าไทย. (2550). เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์. กรุงเทพฯ: สายธุรกิจโรงพิมพ์.
อสมา กุลวานิชไชยนันท์, ( 2561 ), Big Data Series 1. กรุงเทพฯ : บริษัทพราวเพรส จำกัด.
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ. Quantum Computer [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ 6 มิถุนายน 2564 จาก :https://www.nsm.or.th/other-service/671-online-science/knowledge- inventory/sci-vocabulary/sci-vocabulary-information-technology-museum/3235-quantum-computer.html.
เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2559). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล (School Management in Digital Era) [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ 8 พฤษภาคม 2564. จาก:https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/52232/-edu-teaartedu-teaart-teaartdir
Christensen, Clayton M.et al.. (2017). Disrupting Class: How Disruptive Innovation will Change the Way the World Learns. New York: McGraw-Hill, c2017.
Don Tapscott, Alex Tascott. (2018). BLOCKCHAIN เปลี่ยนโลก. กรุงเทพฯ: ดิไวน์แมจิก
Drucker, Peter F., (n.d.). The Next information revolution [Online]. Accessed 5 January 2016.http://www.sjtech.com/Peter%20Drucker%20%20the%20Next%20Informatio n%20Rev olution.pdf
Einstein, A. (2011). "Imagination is more important than knowledge. Knowledge is limited. Imagination circles the world. JAMA, 306(13).
Praornpit Katchwattana. (2020). World Economic Forum WEF 2020 กับภารกิจกอบกู้โลก ด้วยการพัฒนา ‘เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ทักษะบุคลากร’ อย่างยั่งยืน [Online]. จาก: https://www.salika.co/2020/02/20/world-economic-forum-wef-2020/.
Schultz, Theodore W. (1961). Investment in Human Capital. The American Economic Review, 51(1), 1 -17.
Stoltz, P. G.. (1997). Adversity Quotient: Turning obstacles into opportunity. New York: John Wiley
World Economic Forum. (2018). The Future of Jobs Report 2018 [ออนไลน์]. จาก https://www.salika.co/2019/03/25/wef-the-future-of-jobs-report-2018-thailand/.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครวารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาตของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เว้นแต่จะได้รับอนุญาติเป็นอย่างอื่น