Wisdom base Exercise Wisdom base Exercise
Main Article Content
Abstract
Exercise is health promotion to increase physical strength. Taking into the frequency of 3-5 times per week, intensity using heart rate as the main goal, times take 20-60 minutes and the type is aerobic exercise. However, we should exercise continuously. And promote it in relation to the local context and the need of exercisers. In this article, the authors present Wisdom base Exercise. This can be done by exercise according to the principles of sports wisdom, using wisdom as poses soundtracks and equipment for exercising and using that in a hybrid way. However, they should assess the needs of the exerciser and costs within the local context, to design appropriate exercise.
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรมพลศึกษา. (2566). รายงานการสำรวจข้อมูลการออกกำลังกาย เล่นกีฬาและนันทนาการของประชาชน ประจำปี 2566. กรุงเทพมหานคร: กรมพลศึกษา.
กัตติกา ธนะขว้างและจันตนา รัตนวิฑูรย์. (2556). ผลของการรำไม้พลองมองเชิงเมืองน่านต่อสมรรถภาพทางกายและคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้สูงอายุหญิงที่ไม่ได้ออกกำลังกายเป็นประจำ. พยาบาลสาร, 40(2):148-161.
กัตติกา ธนะขว้าง, ผ่องใส กันทเสน และรัตนากร ยศอินทร์. (2555). การพัฒนาและทดสอบประสิทธิผลของโปรแกรมการออกกำลังกายด้านการรำไม้พลองประยุกต์กับการฟ้อนมองเชิงเมืองน่านต่อสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ. วารสารสภาการพยาบาล, 27(2):81-93.
เกตุกนก เกตุทอง, กนกกาญจน์ คุปตะวินทุ และปาณิสรา ส่งวัฒนายุทธ. (2567). ประสิทธิผลของการออกกำลังกายโดยนวัตกรรมจานตาลหมุนมหัศจรรย์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายและความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี. วารสารพยาบาลทหารบก, 25(1):140-150.
คณิน ประยูรเกียรติ และพีรดล เพชรานนท์. (2566). การพัฒนาโปรแกรมการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าที่มีต่อสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพของผู้สูงอายุจังหวัดชัยนาท. วารสารคณะพละศึกษา, 26(2):28-39.
จันทร์ดา บุญประเสริฐ, ศิริรัตน์ ปานอุทัย และโรจนี จินตนาวัฒน์. (2559). ผลของการออกกำลังกายแบบหะฐะโยคะต่อสมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ. พยาบาลสาร, 43(พิเศษ):35-47.
ฐิติมา โกศัลวิตร และกัญญารัตน์ กันยะกาญจน์. (2561). การออกกำลังแบบสมดุล: ปลอดภัย ห่างไกลโรค. วารสารราชธานีนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 2(1):1-11.
ดาราวรรณ รองเมือง, ชวนชม พืชพันธ์ไพศาล, ฉันทนา นาคฉัตรีย์ และจีราพร ทองดี. (2566). ผลของการออกกำลังกายโดยท่ารำเท่งตุ๊กต่อความสามารถในการรู้คิดของผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลทหารบก, 24(2):279-289.
ต่อศักดิ์ แก้วจรัสวิไล. (2559). การสร้างรูปแบบการออกกำลังกายด้วยศิลปะมวยไทยโบราณสำหรับเยาวชน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 39(2):77-86.
นันธวัช นุนารถ. (2560). ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณค่าแห่งวิถีชีวิต วัฒนธรรม เพื่อการศึกษาที่ยั่งยืน. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 12(34): 17-26.
นิพพาภัทร์ สินทรัพย์ และทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์. (2559). ผลของโปรแกรมการให้ความรู้และออกกำลังกายแบบรำตังหวายต่อระดับความดันโลหิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูง. วารสารเกื้อการุณย์, 23(1):73-86.
ปรัชญา ชมสะห้าย, กุลชาดา ศรีใส, สุดยอด ชมสะห้าย, ดุสิต สุขประเสริฐ และวนิดา โนรา. (2567). ประสบการณ์และแนวทางการพัฒนาการคอร์สออกกำลังกาย “ดาบมือเดียว”: การศึกษาเชิงคุณภาพ. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทรรศน์, 39(1):80-92.
ประวิทย์ ฤทธิบูลย์ และพัชราภัณฑ์ ไชยสังข์. (2566). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการออกกำลังกายโดยใช้ท่านาฏศิลป์ประยุกต์สำหรับผู้สูงอายุ. Silpakorn University e-Journal (Social Sciences, Humanities and Arts), 43(6):91-105.
ภูริช ตุ่นทอง และอนุชิตร แท้สูงเนิน. (2564).ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายด้วยกายบริหารและเต้นรำเต้าเต๋อซิ่นซีที่มีต่อสมรรถภาพทางกายและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 16(2): 117-130.
เรืองศรี ศรีสวนจิก, กิตติพงษ์ พลทิพย์, รักษ์สุดา ชูศรีทอง และสุพัตรา เชาว์ไวย. (2567). ผลของกิจกรรมรักษาอุโบสถศีลในช่วงเทศกาลเข้าพรรษาต่อความมีชีวิตชีวาของผู้สูงอายุ. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์, 14(1): 81-92.
สริสสา แรงกล้า, ปวีณ์สุดา เดชะรินทร์ และจิรภา แจ่มไพบูลย์. (2560). เปรียบเทียบผลการตอบสนองต่อการออกกำลังด้วยการเดินสายพานโดยฟังเพลงไทยและไม่ฟังเพลงในประชากรที่ไม่ได้ออกกำลังกายเป็นประจำ. เวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร, 27(2):53-57.
สุวัฒนา เกิดม่วง. (2559). การพัฒนารูปแบบพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบวิถีไทยของประชาชนบ้านท่าระหัด จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 26(1):66-78.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2559). การสำรวจกิจกรรมทางกายของประชากร พ.ศ. 2558. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
องค์อร ประจันเขตต์. (2567). กะลางยางยืด: นวัตกรรมสุขภาพเพื่อผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง.วารสารพยาบาลทหารบก, 15(2):33-38.