การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้คำศัพท์วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้ Google Lens ควบคู่กับสมุดภาพชุดคำศัพท์หรรษาท้าประลอง (Vocabulary Challenge) ด้วยรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด (Peer Learning) โรงเรียนอนุบาลยโสธร The Development of Vocabulary Learning Achievement Using Google Lens and Vocabulary Picture Book (Vocabulary Challenge) within the Environmental of Peer Learning for Grade 4 Students of Anuban Yasothon School

Main Article Content

รุ่งระวี พลพวก

บทคัดย่อ

การใช้สมุดภาพทำให้เด็กมีความสนใจอยากเรียนมากขึ้นช่วยให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นสนใจในบทเรียนและสามารถจดจำความรู้ที่อยู่ภายในกิจกรรมนั้นได้ด้วยตนเอง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ด้านคำศัพท์วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4, 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่จัดการเรียนการสอน และ 3) เพื่อศึกษาความคงทนในการจำคำศัพท์หลังการเรียนโดยการใช้ Google Lens ควบคู่กับสมุดภาพชุดคำศัพท์หรรษาท้าประลอง (Vocabulary Challenge) ด้วยรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด (Peer Learning) โรงเรียนอนุบาลยโสธร กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียน 4/1 โรงเรียนอนุบาลยโสธร ปีการศึกษา 2562, 2563, 2564 จำนวน 118 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบและแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือสถิติเชิงอนุมาณ ได่แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้คำศัพท์วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้ Google Lens ควบคู่กับสมุดภาพชุดคำศัพท์หรรษาท้าประลอง (Vocabulary Challenge) ด้วยรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด (Peer Learning) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้คำศัพท์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนมีความพึงพอใจกับการใช้ Google Lens ควบคู่กับสมุดภาพชุดคำศัพท์หรรษาท้าประลอง (Vocabulary Challenge) ด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด (Peer Learning) และสามารถจดจำคำศัพท์ได้แม้เรียนผ่านไปแล้ว 2 สัปดาห์

Article Details

How to Cite
พลพวก ร. (2023). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้คำศัพท์วิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยการใช้ Google Lens ควบคู่กับสมุดภาพชุดคำศัพท์หรรษาท้าประลอง (Vocabulary Challenge) ด้วยรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด (Peer Learning) โรงเรียนอนุบาลยโสธร: The Development of Vocabulary Learning Achievement Using Google Lens and Vocabulary Picture Book (Vocabulary Challenge) within the Environmental of Peer Learning for Grade 4 Students of Anuban Yasothon School. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 5(3), 285–296. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/rtnb/article/view/3790
บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุ.

จุฬารัตน์ ดวงแก้ว. (2560). ความพึงพอใจของครูต่อภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 1.วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชลลดา เรืองฤทธิ์ราวี. (2553). ผลการใช้กลวิธีช่วยจำเพื่อพัฒนาการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สมุทร เซ็นเชาวนิช.(2551). เทคนิคการอ่านภาษาอังกฤษ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เสาวรี ภูบาลชื่น. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบทางตรงร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะปฏิบัติผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจวิชาศิลปะสาระนาฏศิลป์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(5), 81-92.

Jordan, R. R. (1997). English for academic purpose. A guide and resource book for teachers.

Limbu, P. (2012). Why do we need to use activity-based learning method?. Retrieved from http://eprogressiveportfolio.blogspot.com/2012/06/activity-based-teaching-method.html.

Wilkins, D. A. (1972). Linguistics in Language Teaching. London: Edward Arnold.