จิตวิทยาความรักกับวรรณกรรมพื้นบ้านอีสาน Psychology of love and Isan folk literature

Main Article Content

ดร.กิตติพงษ์ พลทิพย์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอหลักจิตวิทยาเกี่ยวกับความรักที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบ้านอีสาน วรรณกรรมพื้นบ้านอีสานเป็นวรรณกรรมที่ถ่ายทอดโดยภาษาอีสาน มีลักษณะเป็นวรรณกรรมชาวบ้านอย่างแท้จริง แบ่งออกเป็น วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา วรรณกรรมประวัติศาสตร์ วรรณกรรมสุภาษิต วรรณกรรมตำนานบ้านเมือง และวรรณกรรมเบล็ดเตล็ด มีลักษณะการถ่ายทอดจิตวิทยาความรักที่แตกต่างกันจำนวน 6 รูปแบบคือ 1) ความรักระหว่างชายหนุ่มและหญิงสาว 2) ความรักระหว่างมนุษย์และอมนุษย์ 3) ความรักระหว่างสมาชิกในครอบครัว 4) ความรักที่นำมาสู่ความอิจฉาริษยา 5) ความรักชาติ และ 6) ความรักตนเอง

Article Details

How to Cite
Phontip, K. (2022). จิตวิทยาความรักกับวรรณกรรมพื้นบ้านอีสาน: Psychology of love and Isan folk literature. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 4(2), 139–145. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/rtnb/article/view/1135
บท
บทความวิชาการ

References

ธวัช ปุณโณทก. (2522). วรรณกรรมอีสาน. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

พนิดาพร จงราเชนทร์. (2559). รูปแบบความรักของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 9(2), 29-37.

พนิดาพร จงราเชนทร์. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบบุคลิกภาพกับมิติของความรัก. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 25(47), 199-220.

พระพรสวรรค์ ฐิติญาโณ. (2560). ความรักกับการเลือกคู่ : ทัศนะทางพระพุทธศาสนา. วารสารวนัมฎองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์, 4(2), 84-96.

พระสมนึก จรโณ และนิกร ยาอินตา. (2563). ความรัก ความศรัทธา และการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(5), 1-11.

พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2563). สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมท้องถิ่นภาคเหนือ อีสานและภาคกลางในรอบสองทศวรรษ (พ.ศ. 2540 - 2560). อินทนิลทักษิณสาร, 15(1), 49-83.

ราชันย์ นิลวรรณาภา และพิพัฒน์ ประเสริฐสังข์. (2559). วรรณกรรมชาดกพื้นบ้านอีสาน: ภาพสะท้อนอัตลักษณ์ด้านความเชื่อ วิถีชีวิต ประเพณีและพิธีกรรม. วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 3(1(5)), 85-97.