การส่งเสริมการเรียนรู้และอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยสำหรับเยาวชน Promoting Learning and Preserving Thai Classical Dance for Youth

Main Article Content

กานท์ธิดา พึ่งโพธิ์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการฉบับนี้ผู้เขียนต้องการอธิบายถึงนาฏศิลป์ไทยนั้นมีความหลากหลายและสืบทอดมาตั้งแต่อดีตที่ยาวนาน ผู้เขียนจึงอยากวิเคราะห์ถึงนานาฏศิลป์ไทยกับการส่งเสริมนาฏศิลป์ไทยให้กับเยาวชนควรมุ่งเน้นที่การรับรู้ความสำคัญของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ไทยในปัจจุบันเผชิญกับหลายปัญหาที่อาจทำให้กระบวนการนี้มีความเชื่อมั่นลดลง เช่น การขาดแรงจูงใจและความสนใจ การขาดทรัพยากรการศึกษา การแข่งขันจากสื่ออื่น ดังนั้น จึงขอนำเสนอแนวทางการส่งเสริมการเรียนรู้และอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย ประกอบด้วย การสร้างโอกาสในการเรียนรู้ที่หลากหลาย การสนับสนุนการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ การสร้างพื้นที่เรียนรู้ที่เหมาะสม การส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านสื่อออนไลน์ การสร้างความร่วมมือกับชุมชน โดยสร้างพื้นที่ให้เยาวชนได้เรียนรู้และร่วมสร้างผลงานที่เป็นเอกลักษณ์ในด้านนาฏศิลป์ไทยได้อย่างเต็มที่ ซึ่งเท่ากับว่าเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชาติด้านนาฏศิลป์นี้ให้คงอยู่คู่ชาติไทยอย่างยั่งยืน

Article Details

How to Cite
พึ่งโพธิ์ ก. (2024). การส่งเสริมการเรียนรู้และอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยสำหรับเยาวชน: Promoting Learning and Preserving Thai Classical Dance for Youth. วารสารวิชาการรัตนบุศย์, 6(1), 724–739. สืบค้น จาก https://so07.tci-thaijo.org/index.php/rtnb/article/view/4741
บท
บทความวิชาการ

References

กรมศิลปากร. (2549). ทะเบียนข้อมูล : วิพิธทัศนา ชุดระบำ รำฟ้อน. กรุงเทพมหานคร : ไทภูมิพับลิชชิ่ง.

จาตุรงค์ มนตรีศาสตร์. (2517). วิชานาฏศิลป. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าคุรุสภา.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา.(2510). ตำราฟ้อนรำ. โรงพิมพ์พระจันทร์.

ธนิต อยู่โพธิ์. (2516). ศิลปะละครรำหรือคู่มือนาฏศิลป์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร.

นพรัตน์ บัวพัฒน์. (2559). เม็ดพรายของปรมาจารย์นาฏศิลป์ : การสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อพัฒนาศิลปะการแสดงในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ปร.ด. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ประทิน พวงสาลี. (2514) หลักนาฏศิลป. พิมพ์ครั้งที่ 4. พระนคร : ไทยมิตรการพิมพ์.

พาณี สีสวย. (2523). สุนทรียของนาฏศิลป์ไทย. กรุงเทพมหานคร : วิทยาลัยครูธนบุรี.

รานี ชัยสงครำม. (2544). นาฎศิลป์ไทยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา.

วรินทร์ กฤตยาเกียรณ. (2012). ระบบประสาทการรับรู้ความรู้สึกของข้อต่อในนาฏศิลปินไทย.วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ(สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 14(1),77-84.

สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์. (2532). การละครไทย. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.

อมรา กล่ำเจริญ. (2526). สุนทรีนาฏศิลป์ไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

Chatchawarn, Hansakunbuntheung., Yoshinori, Sagisaka. (2009). A development of Thai prosodically enriched speech corpus. 2008:125-133.

Eugene, W., Metcalf. (1983). Black Art, Folk Art, and Social Control. Winterthur Portfolio, 18(4):271-289. doi: 10.1086/496153.

Henry, Glassie., Michel, Monteaux. (1989). The Spirit of Folk Art: The Girard Collection at the Museum of International Folk Art.

Kwanrutai, Sampoon., Nuengruethai, Posri., Boonsri, Kittichotpanich. (2019). Application of social dance exercise and social support program to improve quality of life for Thai older adults. Journal of Health Research, 33(3):260-266. doi: 10.1108/JHR-08-2018-0071.

Ladawan, Chutimakul., Suchitra, Sukonthasab., Thanomwong, Kritpet., Chanai, Vannalee. (2018). Effect of modified Khon dance performance on functional fitness in older Thai persons. Journal of Health Research, 32(6):432-439. doi: 10.1108/JHR-05-2018-0009

Rena, Virginia, Minar. (1994). Case studies of folk-art environments: Simon Rodia's "Watts Towers" and Reverend Howard Finster's "Paradise Garden" (California, Georgia).

Simon, J., Bronner. (1981). Investigating Identity and Expression in Folk Art. Winterthur Portfolio, 16(1):65-83. doi: 10.1086/496002.

Yootthapong, Tongpaeng., Akharawin, Mahamud., Pradorn, Sureephong. (2018). Performing arts student attitude towards dance games as a Thai dance training tool.doi: 10.1109/ICDAMT.2018.8376524.

Yootthapong, Tongpaeng., Patcharaphon, Sribunthankul., Pradorn, Sureephong. (2018). Evaluating real-time thai dance using Thai dance training tool. doi: 10.1109/ICDAMT.2018.8376520.

Zhai, Wei. (2019). The Application of Folk Art Resources in College Art Design Education. In 2019 3rd International Conference on Education Technology and Economic Management (ICETEM 2019).